Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นธรรมดา, ธรรมดา, เป็น , then ธมฺมตา, ธรรมดา, ปน, เป็น, เป็นธรรมดา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นธรรมดา, 4317 found, display 901-950
  1. มุกุล มุกุฬ : (วิ.) ตูม, เพิ่งจะผลิ. มุจฺ โมจเน, อุโล อุโฬวา. แปลง จฺ เป็น กฺ.
  2. มุขาธาน : (นปุ.) บังเหียน, บังเหียนม้า. วิ. มุขํ อติฏฺฐตีติ มุขาธานํ. มุข+อา+ฐา ธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ฐา เป็น ธา.
  3. มุคฺคร : (นปุ.) ค้อน, ไม้ค้อน, ตะบอง. วิ. มุทํ คีรตีติ มุคฺคโร. มุทปุพฺโพ, คิรฺ นิคฺคิรเณ, อ. แปลง ท เป็น ค อิ เป็น อ. มุจฺ โมจเน วา, อโร. แปลง จฺ เป็น คฺ ซ้อน คฺ.
  4. มุงฺคุส : (ปุ.) พังพอน. มงฺคฺ คติยํ, อุโส. แปลง อ ที่ ม เป็น อุ.
  5. มุฏฺฐ : (ปุ. อิต.) กำ, กำมือ. มุ พนฺธเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ. แปลว่า ด้าม ก็มี.
  6. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  7. มุณฺฑา : (อิต.) ผักโหมหลวง, ชะเอม, คันทรง. คันทรงมี ๒ ชนิด เป็นต้นไม้ขนาดเล็กดอกสีเหลืองใช้ทำยา อีกชนิดหนึ่งเป็นไม้เถา ขึ้นตามป่าในที่ดินทรายใกล้ทะเล. สีหฬ เป็น มุพฺพา.
  8. มุตฺต : (นปุ.) ปัสสาวะ, น้ำมูตร, น้ำเบา, น้ำเยี่ยว, เยี่ยว. มุจฺ โมจเน, โต, จสฺส โต. มุตฺตฺ ปสฺสาเว วา, อ. มิหฺ เสจเน วา. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ หฺ แปลง อิ เป็น อุ.
  9. มุทฺธ : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ.
  10. มุทฺธช : (ปุ.) ผม (สิ่งที่งอกบนศรีษะ) วิ. มุทฺธนิ ชายตีติ มุทฺธโช. กฺวิ ปัจ. มุทธชะ เป็น คำเรียกอักษรที่เกิดเพดานปาก.
  11. มุลาล มุฬาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุฬาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  12. มุสิก : (ปุ.) หนู, มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ แปลง ณฺวุ เป็น อก อ+สฺ เป็น ส แปลง อ ที่ ส เป็น อิ. ดู มูสิก.
  13. มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.
  14. มูค : (ปุ.) คนใบ้ วิ. วตฺตุ สกฺกุเณยฺยตฺตา มิคสทิโสติ มูโค. แปลง อิ ที่ มิค เป็น อู ฎีกาอภิฯ.
  15. มูล มูลก : (ปุ.) มัน, เผือก. มูลฺ ปติฏฺฐายํ โรปเน. วา, อ. เป็น นปุ. ก็มี.
  16. มูสล : (ปุ. นปุ.) แปลและธาตุเหมือน มุสล ต่างแต่ทีฆะ อุ ที่ มุ เป็น อู.
  17. มูฬหฺ : (วิ.) ดู มุฬฺห ต่างแต่ทีฆะ อุ เป็น อู.
  18. เมฆ : (ปุ.) เมฆ ชื่อไอน้ำที่รวมกันเป็นก้อนลอยอยู่ในอากาศ วิ. มิหติ โลกํ วสฺส ธาราหีติ เมโฆ. มิหฺ เสจเน, โฆ. แปลง อิ เป็น เอ ลบ หฺ.
  19. เมชฺฌ : (วิ.) หมดจด, มงคล, ดี. เมธฺ หึสาสํคเมสุ, โณฺย. แปลง ธฺย เป็น ฌ แปลง ฌ เป็น ชฺฌ หรือ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ. ฎีกาอภิฯ.
  20. เมตตา : (อิต.) ความรัก, ความรักกัน, ความเยื่อใย, ความปรารถนาดีต่อกัน, ความ หวังดีต่อกัน. มิทฺ สิเนเห, โต. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ มิตฺเต ภวา วา เมตฺตา. ณ ปัจ.
  21. เมตฺติ : (อิต.) ความรัก, ฯลฯ, ความเป็นเพื่อนกัน, ความไมตรี, ไมตรี. มิทฺ สิเนเห, ติ. แปลง อิ เป็น เอ ทฺ เป็น ตฺ หรือแปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ทฺ. มิตฺเต ภวา วา เมตฺติ. ณิ ปัจ.
  22. เมธส : (วิ.) มีปัญญา, มีปรีชา. เมธา+ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. รัสสะ อา เป็น อ.
  23. เมรย : (นปุ.) น้ำดอง, น้ำเมา, เมรัย คือ น้ำดองที่ยังไม่ได้กลั่น. วิ. มทํ ชเนตีติ เมรยํ. ณฺย ปัจ. แปลง อ ที่ ม เป็น เอ ท เป็น ร.
  24. โมจน : (นปุ.) การปลด, ฯลฯ, ความปลด, ฯลฯ, การแก้. มุจ+ยุ ปัจ. แปลง อุ เป็น โอ.
  25. โมนภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้นิ่ง, ฯลฯ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้, ฯลฯ. โมน+ภาว. ความเป็นแห่งมุนี, ความเป็นมุนี. มุนี+ภาว. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง อี เป็น อ.
  26. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  27. โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
  28. ยฏฺฐ : (อิต.) ยัฏฐ ชื่อมาตราวัดระยะ ๗ รตนะ เป็น ๑ ยัฏฐ. ไม้เท้า, ไม้สักเท้า, คัน, ด้าม, ลำ, ต้น, ยตฺ ปยตเน, ติ. แปลง ติ เป็น ฐ. แปลง ตฺ เป็น ฏฺ หรือแปลง ติ เป็น ฏฺฐ ลบ ตฺ.
  29. ยว : (ปุ.) ข้าวเหนียว. ยุ มิสฺสเน, อ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  30. ยสสฺสี : (วิ.) มียศ วิ. ยโส อสฺส อตฺถีติ ยสสฺสี. ยส+สี ปัจ. แปลง ส เป็น สฺส. เป็น ยสสี โดยไม่แปลง ส บ้าง.
  31. ยโสธรา : (อิต.) พระนางยโสธรา วิ. ยโส วุจฺจติ ปริวาโร กิตฺติ จ, เต ธาเรตีติ ยโสธรา (ผู้ทรงไว้ซึ่งบริวารและชื่อเสียง). ยส+ธรฺ+อ ปัจ. แปลง อ ที่ ส เป็น โอ.
  32. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  33. ยาวนฺตุ : (วิ.) มีปริมาณเท่าใด, มีประมาณเท่าใด. วิ. ยํ ปริมาณ มสฺสาติ ยาวนฺตํ. โมคฯ ลง อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ ลง วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ย เป็น อา.
  34. ยาวส : (ปุ.) หญ้า, หญ้าสัตว์กิน, ฟ่อนหญ้า. ยุ มิสฺสเน, อโส. พฤทธี อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว.
  35. ยิฏฺฐ : (นปุ.) การบูชา, ฯลฯ. ยชฺ เทวปูชายํ, โต แปลง ต เป็น ฏฺฐ แปลง อ ที่ ย เป็น อิ ลบที่สุดธาตุ.
  36. ยุคล : (นปุ.) คู่. ยุชฺ โยเค, อโล. หรือตั้ง วิ. ยุ เค อลนฺติ ยุคลํ. แปลง ล เป็นเป็น ยุคฬ บ้าง.
  37. ยุชฺฌน : (นปุ.) อันรบ, การรบ, การรบกัน, การต่อสู้กัน. ยุธฺ สมปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  38. ยุทฺธ : (นปุ.) การต่อสู้กัน, การรบ, การรบพุ่ง, สงคราม. ยุธฺ สมปหาเร, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  39. ยุทฺธนา : (อิต.) การต่อสู้กัน, ฯลฯ ยุธฺ สมฺปหาเร, ยุ. แปลง ธ เป็น ทฺธ.
  40. ยุน ยูน : (ปุ.) ชายหนุ่ม, ชายรุ่น, คนหนุ่ม, คนรุ่น. ยุวศัพท์ แปลง อุว เป็น อุน, อูน รูปฯ ๖๔๙.
  41. ยูถิกา ยูธิกา : (อิต.) คัดเค้า, เข็ม, พุทธชาต. ยุธฺ หึสายํ, อิ, สตฺเถ โก, ทีโฆ. ศัพท์ต้น แปลง ธฺ เป็น ถฺ.
  42. ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
  43. โยคฺค : (วิ.) อัน...พึงประกอบ. ยุชฺ โยเค, โณฺย. แปลง ชฺย เป็น คฺค.
  44. โยพฺพญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กสาว, ความเป็นแห่งคนหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นหนุ่ม, ความเป็นแห่งเด็กรุ่นสาว, ความเป็นแห่งคนรุ่นหนุ่ม ความเป็นเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณฺย ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  45. โยพฺพน : (นปุ.) ความเป็นแห่งเด็กหนุ่ม, ฯลฯ. ยุว+ณ ปัจ. พฤทฺธิ อุ เป็น โอ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ลบ ณฺ เหลือ อ นฺ อาคม รูปฯ ๓๗๒.
  46. รคา : (อิต.) รคา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ วิ. รญฺ ชนติ เอตายาติ รคา, รญฺชฺ ราเค, อ. ลบ ญฺ สังโยค แปลง ช เป็น ค อาอิต.
  47. รชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งพระราชา, ความเป็นพระราชา, วิ. ราชิโน ภาโว รชฺชํ. ราช+ณยปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ลบ อ ที่ ช ลบ ณฺ รวมเป็น รชฺย แปลง ย เป็น ช. ราชสมบัติ ราชอาณาเขต ก็แปล.
  48. รชฺชุ : (อิต.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  49. รชฺชุก : (ปุ.) เชือก, สาย, สายเชือก. วิ. รุนฺธติ เอเตนาติ รชฺชุ. รุธิ อา วรเณ, ชุ. เอา อุ ที่ รุ เป็น อ แปลงที่สุดธาตุเป็น ชฺ หรือลบที่สุดธาตุ ซ้อน ชฺ. ศัพท์ที่ ๒ ก สกัด.
  50. รชต : (นปุ.) เงิน วิ. รญฺชนฺติ ชนา เอตฺถาติ รชตํ. รญฺชฺ ราเค, อโต. แปลง ต เป็นเป็น รชฏ บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | [901-950] | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4317

(0.1343 sec)