Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 1201-1250
  1. อิส : (ปุ.) อิสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส, รสฺโส, สฺโลโป. เป็น อิสฺส โดยไม่ลบ สฺ ก็มี.
  2. อิสธร อิสินฺธร : (ปุ.) อิสธร อิสินธร ชื่อภูเขา ลูกหนึ่งใน ๗ ลูก ซึ่งเป็นบริวารของเขา สุเมรุ อภิฯ และ ฎีกอภิฯ เป็น อีสธร.
  3. อิสฺส : (ปุ.) อิสสะ ชื่อหมีชนิดหนึ่ง, หมี, ค่าง, แรด. อิสฺ อีสฺ คติหึสาทาเนสุ, โส. ไม่ลบ ที่สุดธาตุ. ถ้าตั้ง อีสฺ ก็รัสสะ อี เป็น อิ.
  4. อิสฺสาส : (ปุ.) ธนู, คนแผลงธนู, คนยิงธนู. วิ. อุสุ อสตีติ อิสฺสาโส. อุสุปุพฺโพ, อสุ เขปเน, โณ. แปลง อุ เป็น อิ และ อุ ที่ สุ เป็น อ ซ้อน สฺ.
  5. อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
  6. อิห : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. อิม ศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  7. อีติ : (อิต.) ธรรมชาติมาเพื่อความฉิบหาย, เสนียด, จัญไร, อุบาทว์, อันตราย. วิ. อนตฺถาย เอตีติ อีติ. อิ คมเน, ติ, ทีโฆ. แปลง ติ เป็น ทิ เป็น เอทิ บ้าง. ศัพท์กิริยา เอติ แปลว่า ย่อมมา มาจาก อาบทหน้า อิ ธาตุ ติ วิภัติ.
  8. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  9. อีริณ : (นปุ.) ส่วนแห่งแผ่นดินหาที่อาศัยมีได้, ที่หาประโยชน์มิได้, ที่กันดาร, ที่มีดินเค็ม, ที่เกลือขึ้น, ทุ่ง, ป่าใหญ่, อภิฯ เป็น อิรีณ. ส. อีริณ.
  10. อุกฺกฏฺฐา : (อิต.) อุกกัฏฐา ชื่อนคร ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ. อุกฺก บทหน้า ธรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง ธรฺ เป็น ฐ ซ้อน ฏฺ. อุกฺกฏฺฐิ
  11. อุกฺการ : (ปุ.) ขี้, คูถ, อุจจาระ. วิ. อวกิรียเตติ อุกฺกาโร. อวปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, อ, อวสฺสุตฺตํ (แปลง อว เป็น อุ), อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  12. อุกฺเขปนิยกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำ แก่ภิกษุผู้อันสงฆ์พึงยกขึ้น, การลงโทษ โดยยกเสียจากหมู่. อุกฺเขปนิยกรรม เป็น กรรมที่สงฆ์พึงทำแก่ภิกษุผู้ต้องอาบัติแล้ว ไม่ยอมรับว่าเป็นอาบัติ และไม่ทำคืน (ไม่ ปลงอาบัติหรืออยู่กรรม) ด้วยการลงโทษ ยกเสียจากหมู่ คือ ตัดเสียชั่วคราว เป็น สังฆกรรมอันสงฆ์พึงทำด้วยวิธีญัติจตุตถ- กรรมวาจา. ไตร ๖/๑๓๔.
  13. อุคฺคตฺถน : (นปุ.) เครื่องประดับทรวง. วิ. คาวีนํ ถนาการตฺตา คตฺถนํ. โอสฺสตฺตํ (แปลง โอ แห่ง โค ศัพท์ เป็น อ). ต เมว อุตฺตมตฺตา อุคฺคตฺถนํ. แปลว่า เครื่อง ประดับหน้า, เครื่องประดับหน้าผาก, เครื่องประดับไหล่ บ้าง.
  14. อุคฺคาร : (ปุ.) การเรอ, การราก, การอาเจียน, การอ้วก (กิริยาที่สำรอกอาหารออกจาก ปาก). วิ. อุคฺคุณาติ อุคฺคมติ อุทฺธํคม วาต วูฬฺหวเสนาติ อุคฺคาโร. อุปุพฺโพ, คุ, อุคฺคเม, โณ. อถวา, คิรฺ นิคิรเณ, อ, อิสฺสา (แปลง อิ เป็น อา).
  15. อุจฺจ : (วิ.) สูง, ระหง (สูงโปร่ง สูงสะโอดสะอง), เขิน (สูง). วิ. อุจิโนตีติ อุจฺโจ. อุปุพฺโพ, จิ จเย, อ. แปลง อิ เป็น ย รวมเป็น จฺย แปลง จฺย เป็น จฺจ ส. อุจฺจ.
  16. อุจฺฉงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว, ชายพก, รั้งผ้า. วิ. อุสฺสชติ เอตฺถาติ อุจฺฉงฺโค. อุปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ, สสฺส โฉ, ทฺวิตตํ (แปลง ฉ เป็น จฺฉ) และ แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิตแล้ว แปลงเป็น งฺ.
  17. อุชฺฌายน : (นปุ.) การเพ่งโทษ, ฯลฯ, ความเพ่งโทษ, ฯลฯ. แปลง เอ ที่ เฌ เป็น อาย.
  18. อุฑุ : (นปุ.) น้ำ. อุทิ ปสวนกฺลทเนสุ, อุ. แปลง ท เป็น ฑ. ส. อุฑุ.
  19. อุณฺณต : (นปุ.) เครื่องประดับหน้าผาก. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, โต. ลบที่สุดธาตุ แปลง น เป็น ณ ซ้อน ณฺ เป็น อุนฺนต บ้าง. ฏีกาอภิฯ แก้เป็น สุวณฺณาทิรจิตํ นลาฏา ภรณํ.
  20. อุณฺหคู อุณฺหสิ : (ปุ.) พระอาทิตย์ วิ. อุณฺหา คาโว รสฺมิโย เอตสฺสาติ อุณฺหคู, แปลง โอ แห่ง โค เป็น อู. อุณฺหา รํสิโย เอตสฺสาติ อุณฺหสิ. ลบ รํ.
  21. อุณฺหีส : (ปุ. นปุ.) เครื่องประดับหน้า, วงหน้า, กรอบหน้า, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฏอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า), มงกุฎ พระมงกุฎ ชื่อเครื่องราชกกุธภัณฑ์อย่างที่ ๑ ใน ๕ อย่าง ; ผ้าโพก, หัวบันได, ราว บันได. อุปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, อีโส, วณฺณวิกาโร (เปลี่ยนอักษรคือ แปลง น เป็น ณ). เป็น อุณฺหิส บ้าง. ส. อุษฺณีษ.
  22. อุตฺตมณฺณ : (ปุ.) เจ้าหนี้. วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมณฺโณ. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตญฺจ. แปลง อิ เป็น อ แล้วแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  23. อุตฺตราสค อุตฺตราสงฺค : (ปุ.) ผ้าอันคล้องอยู่ เหนืออวัยวะด้านซ้าย, ผ้าอันคล้องอยู่ที่ ส่วนแห่งกายด้านซ้าย, ผ้าคล้องไว้บนบ่า เบื้องซ้าย, ผ้าห่ม (คือจีวรในภาษาไทย). วิ. อุตฺตรสฺมึ เทหภาเค อาสชฺชเตติ อุตฺตราสํโค อุตฺตราสงฺโค วา. อุตฺตร อา บทหน้า สญฺชฺ ธาตุในความคล้อง อ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิต ศัพท์ หลังแปลงนิคคหิตเป็น งฺ.
  24. อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.
  25. อุตุ : (ปุ. อิต.) คราว, ฤดู. วิ. ปุนปฺปุนํ เอนฺตีติ อุตุโย. อิ คมเน, ตุ, อิสฺส อุ (แปลง อิ เป็น อุ). ตํ ตํ สตตกิจฺจํ อรติ วตฺเตตีติ อุตุ. อร. คมเน, ตุ. แปลง อรฺ เป็น อุ. ส. ฤตุ.
  26. อุทคฺค : (วิ.) สูง, บันเทิง, บันเทิงใจ, เบิกบาน ใจ, ดีใจ, ปลื้มใจ, มีกายและจิตไปใน เบื้องบน, มีผลในเบื้องบน. อุท+อคฺค. อุท คือ ความยินดี, ฯลฯ. เป็น อุทฺทคฺค โดยลง ทฺ อาคม บ้าง.
  27. อุทฺทโลมี : (ปุ.) เครื่องลาดขนสัตว์มีชายสอง ข้าง. วิ. อุทิตํ ทฺวีสุ โลมํ ทสา ยสฺสา สา อุทฺทโลมี. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตํ. เป็น อุทฺทโลมิ อุทฺธโลมี บ้าง.
  28. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  29. อุทฺธรณ : (นปุ.) การยกขึ้น, การรื้อขึ้น, ความยกขึ้น, ความรื้อขึ้น. ไทยใช้คำ อุทธรณ์ หมายถึงการฟ้องร้องต่อศาลที่สอง (ศาล อุทธรณ์) เพื่อขอร้องให้ศาลรื้อฟื้นเรื่องขึ้น พิจารณาและตัดสินใหม่. อุปุพฺโพ, หรฺ หรเณ, ยุ. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ. ส. อุทฺธรณ.
  30. อุทธิ : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ส่วนแห่ง แผ่นดินที่ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล. อุทกปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ, อุทกสฺส อุโท (แปลง อุทก เป็น อุท). ถ้าใช้ อุท เป็นบทหน้า ก็ไม่ ต้องแปลง.
  31. อุทยพฺพย : (นปุ.) ความตั้งขึ้นและความเสื่อม ไป, ความเกิดและความดับ. อุทย+วย แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ.
  32. อุทริย : (วิ.) มีในท้อง วิ. อุทเร ภวํ อุทริยํ. อิย ปัจ. เป็น อุทรีย โดยลง อีย ปัจ. บ้าง.
  33. อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
  34. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  35. อุเทฺรก : (ปุ.) การราก, การเรอ, การอ้วก. วิ. อุทฺธํ เทกติ คนฺตุ มุสฺสหตีติ อุเทฺรโก. อุทธํปุพฺโพ, เทกิ สทฺเท, โณ, ทการสฺส โร. เป็น อุทฺเทก บ้าง.
  36. อุปกฺขร : (ปุ.) เพลา, เพลารถ. วิ. อุปริ กรียเตติ อุปกฺขโร. อ ปัจ. แปลง กร เป็น ขร ซ้อน กฺ.
  37. อุปฆาต : (ปุ.) การเข้าไปกระทบ, การเข้าไป ทำร้าย, การเข้าไปเบียดเบียน, การเข้าไป ฆ่า, วิ. อุปหนตีติ อุปฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ หีสายํ, โณ, หนสฺส ฆาโต. แปลง ต เป็นเป็น อุปฆาฏ บ้าง.
  38. อุปจฺจย : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด. อุป อติ ปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อติ เป็น จฺจ.
  39. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  40. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  41. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  42. อุปณาหี : (วิ.) ผู้ผูกโกรธ, ผู้ผูกใจเจ็บแค้น. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, ณี. แปลง น เป็น ณ.
  43. อุปณิธิ : (ปุ.) การฝากไว้, การฝังไว้, การจำนำ, การจำนำไว้. อุป นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. แปลง นิ เป็น ณิ.
  44. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  45. อุปนนฺธ อุปนนฺธิ อุปนทฺธ : (วิ.) ผูกใจเจ็บ. อุปปุพฺโพ, นนฺธ วินนฺธเน, อ, อิ. ศัพท์ที่ ๓ แปลง นฺ เป็น ทฺ.
  46. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  47. อุปย : (ปุ.) การเข้าถึง. อุปปุพฺโพ, อิ คมเน, อ. แปลง อิ เป็น ย.
  48. อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
  49. อุปสมฺปทกมฺม : (นปุ.) การทำการอุปสมบท, อุปสมบทกรรม คือการบวชเป็นภิกษุ. อุปสมฺปทา+กมฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  50. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | [1201-1250] | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1050 sec)