Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 3551-3600
  1. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  2. อนาสกตฺต : นป. ความเป็นผู้อดอาหาร
  3. อนิจฺจตา : (อิต.) ความเป็นของไม่เที่ยง, ฯลฯ.
  4. อนิจฺจลกฺขณ : (วิ.) มีความไม่เที่ยงเป็นเครื่องหมาย
  5. อนิล : (ปุ.) สภาพเป็นเครื่องเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตอากาศ, ลม.วิ.อนติ อเนนาติ อนิโล.อนฺปาณเน, อิโล.ส.อนิล.
  6. อนิเวสน : (วิ.) ผู้ไม่มีเรือนเป็นที่ตั้ง, ผู้ไม่ติดที่อยู่.
  7. *อนุคฺฆาเฏติ : ก. เปิด, ไม่ปิด, แก้ออก *ของ P.T.S.D. มีความหมายตรงข้ามแปลว่าปิด, มัด โดยแยกศัพท์เป็น น+อุคฺฆาเฏติ
  8. อนุจฺจิฏฺฐ, อนุจฺฉิฏฺฐ : ค. ยังไม่ได้แตะต้อง, ไม่เป็นเดน
  9. อนุจฺฉวิก : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งผิววิ.ฉวีอนุวตฺตตีติ อนุจฺฉวิกํ.สมควรแก่ผิววิ.ฉวิยาอนุรูปํอนุจฺฉวิกํ.ลบรูปแล้วกลับบทกสกัด.
  10. อนุจารี : (ปุ.) ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับโดยปกติ, ชนผู้เที่ยวไปโดยลำดับเป็นปกติ, ชนผู้มีปกติเที่ยวไปโดยลำดับ.
  11. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  12. อนุญฺญาตตฺต : นป. ความเป็นผู้ได้รับอนุญาต
  13. อนุตฺตรสมฺมาสมฺโพธิญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง, ญาณเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง.
  14. อนุทฺทยตา : อิต. ความเป็นผู้เอ็นดู
  15. อนุธมฺม : (วิ.) สมควรแก่ธรรม, เป็นไปตามซึ่งธรรม.
  16. อนุธมฺมตา : อิต. ความเป็นธรรมอันสมควร, ความเป็นจริงตามธรรมชาติ
  17. อนุป : (ปุ.) ประเทศอันชุ่มชื้นด้วยน้ำวิ. อนุคตาอาปาอเตฺรติอนุโป.บางมติว่า เป็นไตรลิงค์.ส.อนุป.
  18. อนุปติตตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกจู่โจมหรือติดตาม
  19. อนุปพนฺธนตา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  20. อนุปพนฺธนา : อิต. ความสืบต่อ, ความเป็นไปโดยไม่ขาดระยะ
  21. อนุปวตฺตก : ค. ผู้ให้เป็นไป, ผู้สืบต่อ
  22. อนุปวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไป ; ให้ดำรงอยู่, ให้สืบต่อ
  23. อนุปวิฏฺฐตา : อิต. ความเป็นผู้เข้าไปตาม, ความเป็นของไหลเข้าไป
  24. อนุปสณฺฐปนา : อิต. ไม่หยุดอยู่, ความเป็นไปไม่ขาดระยะ
  25. อนุปาทิเสส : (วิ.) ไม่มีอุปาทิเป็นส่วนเหลือหมายความว่าไม่มีเบญจขันธ์เหลืออยู่คือเบญจขันธ์ดับไปแล้ว.
  26. อนุปายินี : (วิ.) อันไปตามโดยปกติวิ.อนุปยติสีเลนาติอนุปายินี.อนุปุพฺโพ, ปยฺคมเน, ณี, อิตฺถิยํอินี.มีอันเป็นไปตามเป็นปกติวิ.อนุปายิตํสีลมสฺสาติอนุปายินี.มีปกติไปตามวิ.อนุปายสีโลติอนุปายินี.
  27. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  28. อนุปุพฺพตา : อิต. ความเป็นลำดับ, ความสืบต่อ
  29. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  30. อนุพนฺธ : (ปุ.) อักษรที่หายไปเช่นอิอุที่ติดมากับธาตุเมื่อเป็นรูปสำเร็จอิอุหายไป(คือ ลบ อิ อุ) เรียกอักษรอย่างนี้ว่าอนุพันธะ
  31. อนุภาวตา : อิต. ความเป็นผู้มีอานุภาพ, ความเป็นผู้มีอำนาจ
  32. อนุภูยมานตฺต : นป. ความเป็นผู้ถูกกิน, ความเป็นผู้ถูกเสพ, ความเป็นผู้ถูกเสวย
  33. อนุโมทนา : (อิต.) กถาเป็นเครื่องดำเนินตาม, วาจาเป็นเครื่องกล่าวด้วยสามารถแห่งอันบันเทิงตาม, ความยินดีตาม, ความยินดีด้วยความพลอยยินดี, ความเบิกบานใจ, อนุโม-ทนา (ความพลอยยินดีด้วยกับความดีของคนอื่น).ส.อนุโมทนา.
  34. อนุรูป : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งรูป, คล้าย, สม, สมควร, เหมาะ, พอเพียง.ส.อนุรูป.
  35. อนุโลม : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งขน, ตามขนคือตามลำดับได้แก่การพิจารณาจับเหตุไปหาผล หรือจับต้นไปหาปลาย, เป็นไปตาม, คล้อยตาม, เป็นพวก, ไม่ขัดขืน, ตามลำดับ, สะดวก, เหมาะ.ส. อนุโลมอนุโลมนฺ.
  36. อนุโลเมติ : ก. อนุโลม, เป็นไปตาม, คล้อยตาม, สมควร
  37. อนุวตฺตอนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร.ส.อนุวรฺตน.
  38. อนุวตฺต อนุวตฺตน : (นปุ.) ความคล้อยตาม, ความผ่อนตาม, ความเป็นไปตาม, ความเป็นไปสมควร, ความสมควร. ส.อนุวรฺตน.
  39. อนุวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไปตาม, ให้คล้อยตาม
  40. อนุวาต : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งลม, ตามลม.วิ.วาตํอนุวตฺตตีติอนุวาตํ.
  41. อนุวาตปฏิวาต : (นปุ.) ที่เป็นไปตามซึ่งลมและที่เป็นไปทวนซึ่งลม, สิ่งเป็นไปตามซึ่งลมและสิ่งเป็นไปทวนแก่ลม, สิ่งตามลมและสิ่งทวนลม.
  42. อนุวิจฺฉา : (อิต.) ความอยากบ่อยๆ, ความอยากร่ำไป.อนุปุพฺโพ, อิสุอิจฺฉายํ, อแปลงทฺยเป็นชฺชกสกัด.
  43. อนุสนฺธิ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องต่อตาม, กถาเป็นเครื่องต่อตาม, ความต่อตาม, การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง, การต่อตามลำดับ, การติดต่อ, การต่อ.อนุสํบทหน้าธาธาตุอิปัจ.ส.อนุสํธิ.
  44. อนุสมฺปวงฺกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้คล้อยตาม.
  45. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  46. อนุสฺสุติก : ค. ๑. ซึ่งเป็นไปตามขนบธรรมเนียม ; ๒. ผู้ประพฤติตามธรรมเนียม
  47. อนุสายิก : ค. มีอยู่ประจำ, มีอยู่เป็นนิสัย
  48. อนุสาเรติ : ก. ๑.ให้นำมารวมกัน; ๒. ให้เป็นไปตาม ; ๓. ให้ระลึกถึง
  49. อนุสาเรน : ก. วิ. โดยทำนอง, โดยสมควร, เป็นไปตาม
  50. อนุสาวนา : (อิต.) อนุสาวนาชื่อคำสำหรับสวดในสังฆกรรมที่เป็นญัตติทุติยกรรมและญัตติจตุตถกรรม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | [3551-3600] | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1359 sec)