Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 401-450
  1. ตติย : (วิ.) ที่สาม, ครบสาม, คำรบสาม. วิ. ติณฺณํ ปูรโณ ตติโย. ติ ศัพท์ ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ติ เป็น ต.
  2. ตถาคต : (ปุ.) ท่านผู้ไปแล้วอย่างนั้น คือไปตรงต่อความจริง, พระตถาคต เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง. วิ. ตโถ อาคโท เอตสฺสาติ ตถาโต (มีโวหารถูก ต้องหรือตรัสจริง) ตถ+อาคท แปลง ท เป็น ต หรือ ตถ แล อา+คมฺ+ต ปัจ. ลบ ที่สุดแห่งธาตุ. อภิฯ วิ. ยถา ปุริมกา สมฺพุทฺธา คตา ตถาคโตติ ตถาคโต. และ ชื่อว่า พระตถาคต เพราะเหตุ ๘ ประการ คือ : ๑. ตถา อาคโตติ ตถาคโต. ๒. ตถา คโตติ ตถาคโต. ๓. ตถลกฺขณํ อาคโตติ ตถาคโต. ๔. ตถธมฺเมยาถาวโต อภิสมฺพุทฺโธติ คถาคโต. ๕. ตถทสฺสิตาย ตถาคโต. ๖. ตถวาทิตาย ตถาคโต. ๗. ตถาการิตาย ตถาคโต. ๘. อภิภวนฏฺเฐน ตถาคโต.
  3. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  4. ตทาตฺต ตทาตวฺ : (นปุ.) สิ่งอันเกิดแล้วในกาล นั้น วิ. ตสฺมึ เยว กาเล ชาตํ ตทาตฺตํ ตทาตฺวํ วา. ศัพท์หลังแปลง ต เป็น ว.
  5. ตนฺตวาย : (ปุ.) ช่างหูก, ช่างทอ. วิ. ตนฺตํ วายตีติ ตนฺตวาโย. ตนฺตปุพฺโพ, เว ตนฺตุสนฺตาเน, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. หรือตั้ง อุยิ ตนฺตุสนฺตาเน. แปลง อุ เป็น ว ทีฆะเป็นวา ลบ อิ เหลือเป็น ยู ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ย.
  6. ตนฺที : (อิต.) ความหลับ, ฯลฯ อิ ปัจ. เป็น ตนฺทีบ้าง.
  7. ตปสี ตปสฺสี : (ปุ.) คนมีความเพียรเผาบาป, คน มีตบะ, ภิกษุ. วิ. สี ปัจ. ศัพท์หลังแปลง สี เป็น สฺสี อิต. ตปสฺสินี นปุ. เป็น ตปสฺสิ.
  8. ตม : (วิ.) มืด, ผู้มืด. ติมฺ เตมเน, อ. แปลง อิ เป็น อ. โง่เขลา. ตมฺ กํขายํ. ส. ตม.
  9. ตย : (นปุ.) หมวดแห่ง...สาม, หมวดสาม. วิ. ติณฺณํ สมูโห ตยํ. ติโก วา ราสิ ตยํ. ติ. ศัพท์สังขยา ณ ปัจ. สมุหตัท. แปลง อิ เป็น อย รูปฯ ๓๖๔.
  10. ตยี : (อิต.) เวทสาม วิ. ตโย อวยวา อสฺสาติ ตยี. ตโย เวทา ตยี นาม. เป็น ตยิ ก็มี.
  11. ตรค ตรงฺค : (ปุ.) ม้า (ไปเร็ว). ตุร+คมฺ +กฺวิ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ ลบที่สุดธาตุ ศัพท์ หลังลงนิคตหิตอาคม.
  12. ตรงฺค : (ปุ.) ระลอกคลื่น ลูกคลื่น (กลิ้งไป). วิ. ตรนฺโต คจฺฉตีติ ตรงฺโค. ตีรํ คจฺฉตีติ วา ตรงฺโค. ตีร+คมฺ+กฺวิ ปัจ. แปลง อี เป็น อ.
  13. ตรจฺฉ : (ปุ.) เสือดาว, หมาป่า, หมาไน. ตรฺ ตรเณ, โฉ. แปลง ฉ เป็น จฺฉ หรือไม่แปลง ซ้อน จฺ ก็ได้.
  14. ตรุณี : (อิต.) หญิงรุ่น,หญิงสาว. ตรฺ ตรเณ, อุโณ, อิตฺถิยํ อี หรือลง ยุ ปัจ.แปลงเป็น อณ เป็น ตรณ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ แล้วลง อี อิต.
  15. ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
  16. ตสิณา ตสินา : (อิต.) ตัณหาอันผู้ทำความสะดุ้ง, ความหวาด, ฯลฯ. ตสฺ อุพฺเพเค, อิโน. ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
  17. ตาณ : (วิ.) ต่อต้าน, ต้านทาน, ป้องกัน, เลี้ยง, รักษา. ตา ปาลเน, ยุ. แปลง น ซึ่งแปลง มาจาก ยุ เป็น ณ.
  18. ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
  19. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  20. ตาป : (ปุ.) ความเจ็บ, ความรำคาญ, ความร้อน, ความเดือดร้อน, ความเร่าร้อน, ความแผดเผา. ตปฺ สนฺตาเป. โณ, อถวา, ธุปฺ สนฺตาเป. แปลง อุ เป็น อ ธ เป็น ต. ส. ตาป.
  21. ตาปิญฺช : (ปุ.) เต่าร้าง, หมาก, คูน. วิ. ตาปิยํ ชายตีติ ตาปิญฺโช. อญฺญตฺเถ โช , พินฺทฺวาคโม. ฏีกาอภิฯ เป็น ตาปิญฺฉ. อญฺญตฺเถ โฉ.
  22. ตาลีส ตาฬีส : (อิต.) สี่สิบ. แปลง ทส ที่แปล ว่าสี่สิบ ( ทส นี้สำเร็จรูปมาจากสมาสแล้ว) เป็นจตฺตาร ลบ จต เหลือ ตาร แปลง ร เป็น ล ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ ลงโย วิภัตติ แปลง โย เป็น อีส รูปฯ ๒๕๔, ๑๕๖ และ ๓๙๗.
  23. ตาลุ : (ปุ.) เพดาน, เพดาลปาก. วิ. ตลนฺติ เอตฺถ ทนฺตาติ ตาลุ ( เป็นที่ตั้งแห่งฟัน). ตลฺ ปติฏฺฐายํ ณุ. รูปฯ ๖๓๕ ตั้ง ตรฺ ตรเณ, ณุ. แปลง ร เป็น ล. ส. ตาลุ.
  24. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  25. ตาวนฺตุ : (วิ.) มีประมาณเท่านั้น, มีประมาณ เพียงนั้น. ต+อาวนฺตุ ปัจ. รูปฯ ๓๖๙ เป็น ต+วนฺตุ ปัจ. ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา. โมคฯ เป็นตาวนฺต.
  26. ติกฺข ติกฺขิณ ติขิณ : (วิ.) กล้า, แข็ง, กล้า แข็ง, เข้มแข็ง, แหลม, เฉียบแหลม, คม, คมกล้า. ติชฺ นิสาเน. ศัพท์ต้น ข ปัจ. แปลง ชฺ เป็น กฺ ศัพท์ที่ ๒ และ ๓ อิน ปัจ. แปลง น เป็น ณ แปลง ชฺ เป็น ขฺ ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน กฺ.
  27. ติกิจฺฉน : (นปุ.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  28. ติกิจฺฉา : (อิต.) การเยียวยา, การรักษา, การพยาบาล. กิตฺ โรคาปยเน, โฉ, ยุ. เทว๎ภาวะ กิ. แปลง กิ เป็น ติ แปลง ตฺ เป็น จฺ ศัพท์หลังลง ฉ ปัจ. ตัวเดียว ไม่ต้อง ลง ยุ ปัจ.
  29. ติกูฏ : (ปุ.) ติกูฏะ ชื่อภูเขา วิ. ตีณิ กูฏานิ อสฺสาติ ติกูโฏ. เป็น ติกุฏ ก็มี.
  30. ติณสูล : (นปุ.) มะลิซ้อน วิ. ติณานิ สูลนฺติ ยสฺมึ ตํ ติณสูลํ. สูลฺ รุชายํ, อ. เป็น ติณสุล บ้าง.
  31. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  32. ติติกฺขา : (อิต.) ความอดทน, ความอดกลั้น, ความทนทาน, ความอดใจ, ความบึกบึน. ติชฺ ขนฺติยํ, โข. เทว๎ภาวะ ติ แปลง ชฺ เป็น กฺ อาอิต. เป็น ตีติกฺขา บ้าง.
  33. ติถิ : (ปุ. อิต.) วัน (วันทางจันทรคติ), ดิถี.วิ. ตโนตีติ ติถิ. ตนุ วิตฺถาเร, ถิ, นุโลโป, อสฺสิ ( แปลง อ เป็น อิ). อถวา, ตายตีติ ติถิ. ตา ปาลเน, อิถิ. เป็น ติถี ติตฺถี ก็มี. ส. ติถิ ติถี.
  34. ตินฺตืณี : (อิต.) มะขาม. วิ. อมพิรสํ ตโนตีติ ตินฺติณี. ตนุ วิตฺถาเร, อ. เทว๎ภาวะ ต เอา อ ที ต เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคม แปลง น เป็น ณ อี อิต.
  35. ตินีส : (ปุ.) ไม้เต็ง, ไม้อุโลก. วิ. รถํ ตโนติ เยนโส ตินีโส. ตนุ วิตฺถาเร, อีโส. แปลง อ ที่ ต เป็น อิ.
  36. ติปฺป ติพฺพ : (วิ.) ล้ำ, ยิ่ง, นักหนา, หนักหนา, ( มากยิ่ง ยิ่งนัก), ทึบ ( ป่า....) วิ. ตรติ อติกฺกมตีติ ติปฺปํ ติพฺพํ วา. ตรฺ ตรเณ อ. แปลง อ เป็น อิ ร เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์ หน้าแปลง พ เป็น ป ซ้อน ปฺ.
  37. ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
  38. ติมินฺท : (ปุ.) ปลาติมินทะ ชื่อปลาใหญ่. วิ. ติมีนํ อินฺโท ติมินฺโท. เป็น ติมินนฺท บ้าง วิ. ติมิโน มจฺเฉ นนฺทยตีติ ติมินนฺโท.
  39. ติมิร ติมิล : (วิ.) ชื้น, ชุ่ม, เปียก. ติมุ อทฺทภาเว, อิโร. มืด, บอด. ติมุ กํขายํ, อิโร. ศัพท์ หลังแปลง ร เป็น ล.
  40. ติโรกฺการ : (ปุ.) การทำให้ต่ำ, ฯลฯ. ดู ติรกฺการ. ติรปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โณ แปลง อ ที่ ร เป็น โอ ซ้อน กฺ หรือ วิ. ติโรชานกรณํ ติโรกฺกาโร.
  41. ติลิจฺฉ : (ปุ.) งูขว้างค้อน วิ. ติล มิจฺฉตีติ ติลิจฺโฉ. ติลปุพฺโพ, อิสุ อิจฺฉายํ, อ. แปลง ส เป็น จฺฉ. อถวา, ติริยํ อญฺฉตีติ ติลิจฺโฉ. ติริยปุพฺโพ, อฉิ อายาเม, อ. ลบ ย ที่บท หน้าแปลง ริ เป็น ลิ แปลง ฉ ที่สุดธาตุ เป็น จฺฉ. งูเห่า ก็แปล.
  42. ติวงฺคุล : (นปุ.) องคุลีสาม, สามองคุลี.วิ. ติสฺโส องคุลิโย ติวงฺคุลํ. วฺ อาคม. องฺคุลิยา ภาโว องฺคุลํ. แปลง องฺคุลี เป็น องฺคุล.
  43. ติวุตา : (อิต.) จิงจ้อ, จิงจ้อหลวง. วิ. ติสฺโส วุตา ตาราชิโย ยสฺสา สา ติวุตา. เป็น ปุ. ก็มี ดู ติปุฏา ประกอบ.
  44. ตีร : (นปุ.) ท่าน้ำ,ฝั่ง,ตลิ่ง,เตียร,เดียร,วิ. ชลํ ตายตีติ ตีรํ. ตา ปาลเน, โร, อาสฺสี. ตีรฺ กมฺมสามตฺถิเย, อ. เป็น ติร บ้าง . ส ตีร.
  45. ตีว : (วิ.) พี ( อ้วน) อ้วน, ใหญ่. ติปฺ ปีณเน, อ. แปลง ป เป็น ว ทีฆะต้นธาตุ.
  46. ตึส ตึสติ : (อิต.) สามสิบ. แปลง ทส ที่แปลว่า สามสิบ ( ทส จ ทส จ ทส จ ทส ) เป็น ติ ลง โย วิภัตติ เป็นอีสํ ลบนิคคหิต รัสสะ อี ลงนิคคหิตอาคม ที่ ติ ศัพท์หลัง ลง ติ อาคมท้ายศัพท์ รูปฯ ๓๙๘ หรือแปลงติก ( หมู่แห่งสาม ) เป็น ติ รูปฯ ๓๙๗.
  47. ตุ : (อัพ. นิบาต) ส่วนว่า, ก็. เป็นไปในความวิเศษ เหตุ และการห้ามเป็นต้น. แล เป็น ปทปูรณะ.
  48. ตุงฺค : (วิ.) สุง. ตุชฺ หึสาสหเณสุ, อ. แปลง ช เป็น ค นิคคหิตอาคมต้นเหตุ. ส. ตุงฺค.
  49. ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
  50. ตุฏฺฐ : (อิต.) ความชื่นชม, ความแช่มชื่น, ความยินดี, ความพอใจ, ความร่าเริง, ความรื่นเริง. วิ. ตุสนํ ตุฏฺฐ. ตุสฺ ตุฏฐยํ, ติ. แปลง ติ เป็น ฏฺฐ  ลบที่สุดธาตุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1356 sec)