Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นผู้นำ, ผู้นำ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นผู้นำ, ผู้นำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นผู้นำ, 4345 found, display 501-550
  1. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  2. ทฺวาปญฺญาส : (ไตรลิงค์) ห้าสิบสอง. ทฺวิ+ปญฺญาส แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๙๗.
  3. ทฺวาร : (นปุ.) ประตู, ปาก, ช่อง, อุบาย, ทาง. ทฺวรฺ สํวรเณ, โณ, อภิธัมมวิภาวินีปท โยชนาเป็น ทฺวารฺ ธาตุ อ. ปัจ. เป็น ทฺวารา
  4. ทฺวารวตี : (อิต.) ทวาราวดี ชื่อเมือง. ไตร. ๓๒/ ๒๙๕ เป็น ทวารวตี
  5. ทฺวิ : (ไตรลิงค์) สอง. แปลง ทฺวิ เป็น ทุเว บ้าง. ส. ทฺวิ.
  6. ทฺวิรตฺต : (นปุ.) ราตรีสอง, สองราตรี. วิ. เทฺว รตฺติโย ทฺวิรตฺตํ. เอา อิ ที่ ติ เป็น อ รูปฯ ๓๓๔.
  7. ทสพลจตุเวสารชฺชาทิสพฺพคุณปฏิมณฺฑิต : (วิ.) (พระสัพพัญญุตาญาณ) อันประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณทั้งปวงมีญาณแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีกำลังสิบและญาณคือ ความเป็นแห่งพระพุทธเจ้าผู้มีความครั่นคร้ามไปปราศแล้วสี่เป็นต้น. เป็น ต. ตัป. มี ฉ. ตุล., ฉ.ตัป., ฉ. ตุล., ณฺยปัจ. ภาวตัท., ส.ทิคุ., อว.กัม., อ.ทวัน., วิเสสนบุพ. กัม. ฉ..ตุล. และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน. ลบ ญาณ ทั้งสองศัพท์.
  8. ทสฺสน : (นปุ.) การเห็น, การดู, การแลดู, การเฝ้า (ราชาศัพท์), ความเห็น, ฯลฯ. วิ. ทสฺสียเตติ ทสฺสนํ. ทิส. เปกฺขเณ. ยุ. แปลง ทิส เป็น ทสฺส. และยังแปลว่า โสตาปัตติ-มรรคด้วย อุ. ทสฺสเนน ปาหตพฺพา ธมฺมา. ธรรมท. อันพระโสดาปัตติมรรคพึงประหาณ. ส. ทรฺศน.
  9. ทสฺสนีย : (วิ.) ควรซึ่งอันเห็น, ควรซึ่งอันดู, ควรเพื่ออันเห็น, ควรเพื่ออันดู, น่าดู, น่าชม, งาม, ทัศนีย์, ทรรศนีย์, ทัศไนย. วิ. ทสฺสนํ ทสฺสหตฺถํ วา อรหตีติ ทสฺสนิโย. ทสฺสน+ อียํ ปัจ. ฐานตัท. กัจฯ และรูปฯ ลง อิย ปัจ. ได้รูปเป็น ทสฺสนีย. ทสฺสนีย ที่ เป็นกริยานั้น เป็น ทสฺ ธาตุ อนีย ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ส. ทรฺศนีย.
  10. ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
  11. ทาฐก : (นปุ.) หนวด, เครา. เป็น อิต. ก็มี.
  12. ทาฐา : (อิต.) เขี้ยว, งาช้าง. วิ. ทํสติ เอตายาติ ทาฐา. ทํสฺ ทํสเน, โฐ, ทํสสฺส ทา (แปลง ทํสฺ เป็น ทา). ส. ทาฒา.
  13. ทาตฺยูห : (ปุ.) นกกาน้ำ, นกอีลุ้ม. วิ. ทาติ อูหติ อุสฺสหตีติ ทาตฺยูโห. ขณฺฑิตทฺธนิอิจฺจตฺโถ. ฎีกาอภิฯ คาถาที่ ๖๔๔. แปลง อิ ที่ ติ เป็น ย รัสสะ อู เป็น อุ เป็นทาตฺยุห บ้าง.
  14. ทานทาย : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งทาน วิ. ทานํ ททาตีติ ทานทาโย. ทานปุพฺโพ, ทา ทาเน, โณ. แปลง อา เป็น อาย.
  15. ทาย : (ปุ.) ป่า, หมู่ไม้, กอหญ้า, ทา อวขณฺฑนเฉทเนสุ. ทยฺ ทานคติหึสาสุ วา, โณ. แปลง อา เป็น อาย ถ้าตั้ง ทยฺ ธาตุ ก็ฑีฆะ.
  16. ทายชฺช : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์ เกื้อกูลแก่บุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์อันมารดาและบิดาพึงให้ วิ. ทายาทสฺส หิตํ ธนํ ทายชฺชํ. ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่งทรัพย์ อัน...พึงให้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับ ทรัพย์มรดก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รับมรดก. วิ. ทายาทสฺส ภาโว ทายชฺชํ. ทายาท+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา ที่ ยาลบ อ ที่ ท ลบณฺ รวมเป็น ทายทฺย แปลง ทฺย เป็น ชฺช.
  17. ทายน : (นปุ.) การตัด, การเกี่ยว, การเกี่ยว ข้าว. ทา ขณฺฑเน, ยุ. แปลง อา เป็น อาย.
  18. ทายิกา : (อิต.) หญิงผู้ให้, ทายิกา. ศัพท์ที่ สำเร็จมาจาก ณฺวุ ปัจ. เมื่อลง อาอิต. แล้วต้องแปลง อ ของ อักษรตัวหน้า ก (ก ที่แปลงมาจาก ณฺวุ) เป็น อิ เสมอ รูปฯ ๕๕๔.
  19. ทายี : (วิ.) ผู้ให้โดยปกติ, ผู้มีปกติให้, ทา ทา เน, ณี. ผู้ถือเอาโดยปกติ, ผู้มีปกติถือเอา. ทา อาทาเน, ณี. แปลง อา เป็น อาย. ผู้ควรเพื่ออันให้ วิ. ทาตุ ยุตฺโตติ ทายี. ดู ธมฺมจารี ประกอบ.
  20. ทารุณ : (วิ.) หยาบ, หยาบช้า, ร้าย, ดุร้าย, โหดร้าย, น่าสะพรึงกลัว. วิ ทาเรติ วิทาเรตีติ ทารุโณ. ทรฺ วิทารเน, อุโณ, กุโน วา. ถ้าลง กุน ปัจ. สบ กฺ แปลง น เป็น ณ. ส. ทารุณ.
  21. ทารุหฬิทฺทา : (อิต.) ไม้เหลือง, ขมิ้น. วิ. หฬิทฺทวณฺณทารุตาย ทารุหฬิทฺทา. กลับ บทหน้าไว้หลัง. เป็น ทารุหลิทฺทาบ้าง.
  22. ทาสี : (อิต.) บ่าวผู้หญิง, หญิงที่เป็นบ่าว, คนรับใช้หญิง, คนใช้หญิง, หญิงคนใช้, ทาสหญิง. วิ. ทุกุจฺฉิตํ อสตีติ ทาสี. ทุปุพฺโพ, อสฺ อทเน, อ. แปลง อุ เป็น อา อี อิต. ทิยฺยนฺเต เอตายาติ ทาสี. ฎีกาอภิฯ เป็น ทียนฺเต ทา ทาเน, โส, อิตฺถิยํ อี. ส. ทาสี.
  23. ทาฬิม ทาลิม : (ปุ.) ทับทิม, ต้นทับทิม. ทฬฺ วิทารเณ, โม, อิ อาคโม. เป็น ทามฺภ บ้าง.
  24. ทิคฺฆิกา : (อิต.) คู ชื่อที่ดินที่ขุดเป็นคลอง หรือล่องเพื่อล้อมเป็นสิ่งที่ต้องการล้อม วิ. ทีฆภาเวน ยุตฺตตฺตา ทิคฺฆิกา. เป็น ทีฆิกาบ้าง.
  25. ทิคมฺพร : (ปุ.) คนผู้มีผ้าคือทิศ, คนนุ่งทิศ, คนเปลือย, นิครนถ์. วิ. ทิสา เอว อมฺพรํ วตฺถํ, น ปกติวตฺถ เมตสฺสาติ ทิคมฺพโร. แปลง ส เป็น ค. ส. ทิคมฺพร.
  26. ทิฆมฺพร : (นปุ.) ท้องฟ้า, โพยม, โพยมัน, โพยมาน. ทีฆ+อมฺพร รัสสะ อี เป็น อิ. ส. โวฺยมนฺ.
  27. ทิช : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว. ชุ ทิตฺติยํ, อ. เทว๎ภาวะ ชุ แปลง อุ เป็น อิ เป็น ชิ แปลง ชิ เป็น ทิ.
  28. ทิฏฺฐ : (ปุ.) ความยินดี, ความพอใจล ความแช่มชื่น. ตุสฺ ตุฎฺฐยํ, โต. แปลง ต เป็น ฎฺฐ ลบ สฺ แปลง อุ เป็น อิ แปลง ตฺ เป็น ทฺ.
  29. ทิทฺธ : (วิ.) ฉาบ, ทา, ไล้. ทิหํ อุปเลปเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  30. ทิพฺพ : (วิ.) อันเป็นทิพย์, เลิศ. ทิวุ ชุติยํ, โย. ลบ อุ ที่ วุ รวมเป็น ทิวฺย แปลง วฺย เป็น พฺพ. ส. ทิวฺย.
  31. ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ : (วิ.) ที่สองด้วยกึ่ง, ที่สองทั้งกึ่ง, หนึ่งกับครึ่ง, หนึ่งครึ่ง. วิ. อฑฺเฒน ทุติโย ทิยฑฺโฒ. ทิวฑฺโฒ แปลง ทุติย กับ อฑฺฒ เป็น ทิยฑฺฒ ทิวฑฺฒ รูปฯ ๓๙๕.
  32. ทิยฑฺฒโยชนสติกมคฺค : (ปุ.) ทางอัน ประกอบแล้วด้วยร้อยแห่งโยขนืที่สองทั้ง กึ่ง, ทางอันประกอบด้วยร้อยห้าสิบโยชน์, ทางหนึ่งร้อยห้าสิบโยชน์. เป็น วิเสสน-บุพ. กัม มี ฉ. ตัป., วิเสสหบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  33. ทิยฑฺฒสหสฺสนาฏกิตฺถีปริวาร : (วิ.) มีหญิง ฟ้อนมีพันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตัป. มี วิเสสนบุพ. กัม., วิเสสนบุพ. กัม., ฉ. ตุล., และ วิเสสนบุพ. กัม. เป็นภายใน.
  34. ทิรสญฺญู : (ปุ.) สัตว์ลิ้มรสด้วยลิ้นสองแฉก, งู. วิ. ทฺวีหิ ชิวฺหาหิ รสํ ญายตีติ ทิรสญฺญู. ทฺวิรสสทฺทุปทํ, ญา อสฺสารทเน, รู. แปลง ทฺวิ เป็น ทิ เป็น ทฺวิรสญฺญู โดยไม่แปลง ทฺวิ บ้าง.
  35. ทิเรท : (ปุ.) สัตว์มีงาสอง, ช้าง, ช้างพลาย. ทฺวิ+รท แปลง ทฺวิ เป็น ทิ.
  36. ทิส : (ปุ.) ข้าศึก, ศัตรู. วิ. ทิสตีติ ทิโส. ทิสฺ อปปีติยํ, อ. ทุสฺสตีติ วา ทิโส. ทุสฺ โทสเน, อ. แปลง อุ เป็น อิ.
  37. ทิสมฺปติ : (ปุ.) ทิสัมปติ ชื่อของพระราชา, พระราชา. วิ. ทิสานํ ปติ ทิสมฺปติ (ผู้เป็นใหญ่แห่งทิศ ท.) ทิสํ ปาเลตีติ วา ทิสมฺปติ. ทิสาปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, ติ. รัสสะ อา ที่ สา และ ป่า ลงนิคคหิตอาคมที่บทหน้า แปลง เป็น ม.
  38. ทีฆนิกาย : (ปุ.) ทีฆนิกายชื่อคัมภีร์ เป็น คัมภีร์ต้นของพระสุตตันตปิฎก.
  39. ทีฆมญฺชส : (นปุ.) ทางยาว, หนทางยาว, ทางไกล, หนทางไกล. ทีฆ+อญฺชส มฺอาคม. เป็น ทีฆญฺชส บ้าง.
  40. ทีฆรตฺต : (นปุ.) ราตรียาว, ราตรีนาน, กาลนาน. วิ. ทีฆา รตฺติโย ทีฆรตฺตํ. แปลง รตฺติ เป็น รตฺต.
  41. ทีฆายุ ทีฆายุก ทีฆาวุ : (วิ.) มีอายุยาว, มีอายุ นาน, มีอายุยาวนาน, มีอายุยืน, มีอายุ ยืนนาน, มีอายุยั่งยืน. คำที่สอง ก สกัด คำที่สาม แปลง ยุ เป็น วุ.
  42. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  43. ทุ : (อัพ. อุปสรรค) ชั่ว, ยาก, ลำบาก, เลว, ทราม, เสีย, น้อย. ที่ใช้ในภาษาไทย เมื่ออยู่หน้าอักษรต่ำ แปลง ทุ เป็น ทร ทุร อุ. ทรชน ทุรชน. ส. ทุ.
  44. ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
  45. ทุกฺกต : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, การทำ ชั่ว, ฯลฯ. วิ. นินฺทิตํ กรณ มสฺส ทุกกตํ. คำแปลแรก ต ปัจ. กิริยากิตก์ คำแปล หลังๆ เป็น ต ปัจ. ลง ภาวะ.
  46. ทุกูล : (นปุ.) ผ้าทำด้วยเปลือกไม้ล ผ้าเปลือกไม้. วิ. ทุกฺเขน กุลยเตติ ทุกูลํ. ทุปุพฺโพ, กุลฺ อาหรเณ, อ. ทุเมหิ ชาตํ กูลนฺติ วา ทุกูลํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ผ้าสาณะ ก็แปล เป็น ทุกุล ก็มี.
  47. ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
  48. ทุติย : (วิ.) (ชน) เป็นที่เต็มแห่งชน ท. สอง, สอง ที่สอง, เป็นเพื่อน. วิ. ทฺวินฺนํ ปูรโณ ทุติโย (ชโน). ทฺวินฺนํ ปูรณี ทุติยา (ติถิ). ทฺวินฺนํ ปูรณํ ทุติยํ (กุลํ). ทฺวิ+ติย ปัจ. ปูรณตัท แปลง ทฺวิ เป็น ทุ รูปฯ ๓๙๔.
  49. ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
  50. ทุทฺธ : (นปุ.) นม, นมสดง วิ. ทุยฺหเตติ ทุทฺธํ. ทุหฺ ปปูรเณ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ ที่สุดธาตุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4345

(0.1282 sec)