Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าสมัย, เข้า, สมัย , then ขา, เข้, เข้า, เข้าสมัย, สมย, สมัย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าสมัย, 435 found, display 101-150
  1. วฺยาปิต : กิต. เข้าแทรกแซง, ปะปน
  2. วิปกฺขเสวก : ค. ผู้เข้าข้างศัตรู
  3. เวสมฺม : นป. ความไม่เสมอกัน, ความไม่เข้ากัน
  4. สณฺฐปน : นป. การจัดให้เข้ารูป, การตั้งขึ้น
  5. สนฺทหน : นป. การรวมกันเข้า
  6. สภฺย : (ปุ.) คนมีตระกูล, คนผู้เข้าประชุม. วิ. สภายํ สาธุ สโภฺย. ย ปัจ. ลบ อา.
  7. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  8. สมฺปิณฺเฑติ : ก. ประมวล, ปั้นให้กลม, ย่อเข้า
  9. สมฺมติสงฺฆ สมฺมุติสงฺฆ : (ปุ.) สงฆ์สมมติ, สงฆ์สมมุติ, สมมตสงฆ์, สมมุติสงฆ์. เป็นคำสำหรับเรียกพระภิกษุที่ไม่ได้เป็นพระอริยะ ผู้เข้าประชุมมิได้ละหัตถบาสกันตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไป.
  10. สมฺมิญฺชิต : (นปุ.) การคู้เข้า. สํปุพฺโพ, อิญฺชฺ กมฺปเน, โต, อิอาคโม.
  11. สมาชิก : (ปุ.) บุคคลผู้เข้าประชุม, บุคคลผู้มาประชุมรวมกัน, บุคคลผู้มาประชุมร่วมกัน, สมาชิก(ผู้มีสิทธิหรือมีส่วนร่วมในสมาคมหรือกิจการใด ๆ).
  12. สมาปชฺชติ : ก. ย่อมเข้าถึง
  13. สมาปชฺชน : นป. การเข้าถึง
  14. สมาปชฺชนา : (อิต.) การเข้า. สํ อาปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
  15. สมาปตฺติ : (อิต.) การถึงทั่วพร้อม, การบรรลุ, การถึง, การเข้า, สมาบัติ(การบรรลุฌาน การเข้าฌาน). สํ อา ปุพฺโพ, ปทฺ คติยํ, ติ.
  16. สมาปนฺน : กิต. เข้าถึงแล้ว
  17. สมายิก : ค. เป็นไปตามสมัย, ชั่วคราว
  18. สมาส : (ปุ.) การย่อ วิ. สมเสนํ สํขิปินํ วา สมาโส. ศัพท์อันท่านย่อ ศัพท์อันท่านย่อเข้า วิ. สมสิยเตติ สมาโส. สํปุพฺโพ, อสฺ สํขิปเน, โณ. สมาส ชื่อของวิชาไวยากรณ์อย่างหนึ่ง คือ การย่อมนามศัพท์ตั้งแต่สองศัพท์ขึ้นไปเข้าเป็นบทเดียวกัน. ส. สมาส.
  19. สมุปฺปชฺชติ : ก. เกิดขึ้น, เข้าถึง
  20. สมุเปติ : ก. เข้าถึง
  21. สยวร : (ปุ.) สยมพร สยัมพร สยุมพร ชื่อพิธีการเลือกคู่ของกษัตริย์สมัยโบราณ การเลือกคู่ของนางกษัตริย์สมัยโบราณ.
  22. สรทกาล : (ปุ.) การเป็นที่สะครั่นสะครอ, สมัยเป็นที่ยินดีแห่งสุนัข.
  23. สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
  24. สหาร : ป. การตัดให้สั้นเข้า, การรวบรวม
  25. สหารก : ค. ซึ่งรวบรวมเข้าไว้
  26. สามาชิก : ป. ผู้เข้าร่วมประชุม, สมาชิก
  27. สารทิก : (วิ.) มีในสรทสมัย.
  28. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  29. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  30. หตฺถปาส : (ปุ.) บ่วงแห่งมือ, บ่วงมือ, หัตถบาส ชื่อของระเบียบปฏิบัติสำหรับภิกษุสงฆ์ผู้เข้าร่วมประชุมทำสังฆกรรม จะต้องอยู่ในหัตถบาสของกันและกัน คืออยู่ในระหว่าง ๒ ศอก-คืบ ถ้ายืนก็ห่างกันประมาณ ๑ ศอก ถึง ๑ ศอกคืบ ถ้านั่งก็ห่างกัน ๑ คืบ ต่อ ๆ กันไป และยังใช้เกี่ยวกับคฤหัสถ์ผู้ประเคน (ถวาย) ของแด่ภิกษุสงฆ์ด้วย จะต้องเข้ามาในหัตถบาส คือห่างจากภิกษุผู้รับ ๑ ศอก สำหรับสุภาพสตรีเข้าไปประเคน (ถวาย) อยู่ในระยะ ๑ ศอกนี้ ดูไม่งาน เช่นบางกรณีคือ ถวายของในพิธีมงคลสมรส.
  31. อกฺขณ : (ปุ.) กาลมิใช่ขณะ, สมัยมิใช่ขณะ, โชคร้าย, ยามร้าย.
  32. อกาลจีวร : (นปุ.) ผ้าอันเกิดขี้นในสมัยมิใช่กาล, ผ้าที่ทายกทายิกาถวายนอกเขตฤดูกาล (ที่ทรงอนุญาต) คือผ้าที่เกิดขึ้นนอกเขตกาลจีวร, อกาลจีวร.อกาลจีวรมีกำหนดดังนี้ถ้าภิกษุไม่ได้กรานกฐินมีกำหนด ๑๑ เดือน ตั้งแต่ แรม ๑ ค่ำ เดือน ๑๒ ถึนขึ้น ๑๕ค่ำ เดือน ๑๑ ถ้าได้กรานกฐินมีกำหนด ๗ เดือน คั้งแต่แรม ๑ ค่ำ เดือน ๔ ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำ เดือน ๑๑ ไตร. ๒/๓๔.
  33. อชฺฌปฺปตฺตา : ค. ตกทับ, เข้าถึงโดยบังเอิญ
  34. อญฺญสตฺถุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นซึ่งศาสนาอื่น, การเข้ารีดศาสนาอื่น.
  35. อฏฺฐิต : ค. ๑. ไม่ตั้งมั่น ( น+ฐา+ต ) ; ๒. เข้าถึง, ตั้งใจ ( อา+ฐา+ต )
  36. อธิก : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, เกิน, มาก, มากยิ่ง, เหลือเหลือเฟือ, เพิ่ม, เพิ่มเข้ามา, เลิศ, อธึก.วิ.อธิเอตีติอธิโก.อธิปุพฺโพ, อิ คมเน, โก.อธิก
  37. อธิกมาส : (ปุ.) เดือนเกิน, เดือนที่เพิ่มเข้ามา, อธิกมาสคือเดือนที่เพิ่มเข้ามา ปีนั้นมี ๑๓เดือน คือมีเดือน ๘ สองหน เรียกว่า เดือน ๘ต้น หรือ เดือน ๘ แรก กับเดือน ๘ หลัง.
  38. อธิกวาร : (ปุ.) วันเกิน, วันที่เพิ่มเข้ามา, อธิกวารคือวันที่เพิ่มเข้ามาทางจันทรคติอีก ๑ วันท้ายเดือน ๗ ปีนั้นเดือน ๗ จึงมี๓๐ วัน.
  39. อธิคตวนฺต : ค. ผู้บรรลุ, ผู้เข้าถึง
  40. อธิคเมติ : ก. ให้บรรลุ, ให้เข้าถึง, ให้เข้าใจ
  41. อธิมุจฺจติ : ก. ๑. น้อมใจไป, นึกน้อม ; ๒. สิง, เข้าสิง, ครอบครอง
  42. อนฺตราคจฺฉติ : ก. มาในระหว่าง, แทรกเข้ามา
  43. อนฺโตคธ : (วิ.) ถึงที่สุด, รวมเข้า, นับเข้า, หยั่งลง.วิ. อนฺโตโอคาธตีติอนฺโตคธํ.
  44. อนฺโตชาลิกต : ค. ถูกตะล่อมเข้าในข่าย, อยู่ในข่าย
  45. อนฺวาคจฺฉติ : ก. ไปตาม, ติดตาม, เข้าถึง, บรรลุ
  46. อนาถปิณฺฑิก : (ปุ.) เศรษฐีผู้มีก้อนข้าวเพื่อคนยากจน, อนาถปิณฑิกะ ชื่อของเศรษฐีท่านหนึ่งสมัยพุทธกาล.
  47. อนุคาหต : ก. หยั่งลง, โฉบลง, กระโจนเข้าใส่
  48. อนุปตฺติ : อิต. การเข้าถึง, การบรรลุ
  49. อนุปาปิต : กิต. เข้าถึงแล้ว, บรรลุแล้ว
  50. อนุปาล : (ปุ.) การตามเลี้ยง, การตามรักษา, การตามระวัง, การคอยรักษา, การคอยระวัง.เรียกโรงเรียนที่รับเด็กก่อนเข้าเกณฑ์ประถมศึกษาว่าโรงเรียนอนุบาล เรียกเด็กที่เรียนว่าเด็กอนุบาล (เด็กที่ครูต้องคอยระวัง).
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-435

(0.0432 sec)