Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าสมัย, เข้า, สมัย , then ขา, เข้, เข้า, เข้าสมัย, สมย, สมัย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าสมัย, 435 found, display 301-350
  1. ปิฏฺฐขาทนิย : นป. ของหวานที่ทำด้วยแป้ง
  2. เปกฺขา : (อิต.) อันเพ่ง, ฯลฯ, การเพ่ง, ฯลฯ, ความเพ่ง, ฯลฯ.
  3. พาหิรรกฺขา : อิต. การป้องกัน, การรักษาโดยวิธีภายนอก
  4. ภกฺขา : (อิต.) การกิน, การเลี้ยง, ของกิน, ของบริโภค, อาหาร, ภักษ์, ภักษา. ภทฺขฺ อทเน, อ. ส. ภกฺษ.
  5. ภิกฺขา : (อิต.) อันขอ, การขอ, การขอทาน. ภิกฺขฺ ยาจเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  6. ภิกฺขาจริยา : (อิต.) ความประพฤติในอันขอ, การเที่ยวขอ.
  7. ภิกฺขาจาร : (ปุ.) การเที่ยวไปเพื่ออันขอ, การเที่ยวไปเพื่ออันขออาหาร, การเที่ยวขออาหาร, การเดินบิณฑบาต, การเที่ยวบิณฑบาต. ภิกษาจาร. ส. ภิกฺษาจาร.
  8. ภิกฺขาหาร : ป. อาหารที่ได้มาจากการขอ
  9. มคฺคกฺขายี : ค. ผู้บอกทาง
  10. มุขาลมฺพท : (นปุ.) การเล่นพิณพาทย์ปาก.
  11. รกฺขา : อิต. การรักษา, ความปลอดภัย, การคุ้มครอง
  12. ลญฺจขาทก : ค. ผู้ได้รับสินบน, ผู้กินสินบน
  13. ลาขาปสาทน : ป. ไม้แสม, ไม้โลทแดง
  14. ลิกฺขา : อิต. มาตราชั่ง = ๑๒๙๖ อณู ; ไข่เหา
  15. วิกฺขาเลติ : ก. บ้วน, ถ่ม
  16. สงฺขยา, สงฺขา : อิต. การนับ, การคำนาณ
  17. สมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ต่อหน้า, แจ้ง, ชัด, พร้อมหน้า, ในที่พร้อมหน้า, ในที่เฉพาะหน้า. นิบาตลงในอรรถสัตมี. รูปฯ ๒๘๒.
  18. สมุทฺทกฺขายิก : (นปุ.) เรื่องทะเล.
  19. สลขาริก สสงฺขาริก : (วิ.) เป็นไปกับด้วยสังขาร.
  20. สิกฺขากาม : กิต. ผู้ใคร่ต่อการศึกษา
  21. สิกฺขาปก, สิกฺขาปนก : ค. ผู้ให้การศึกษา, ครู
  22. สิกฺขาสาชีว : (ปุ.) การศึกษารและการครองชีพ.
  23. สิขาพนฺธ : (นปุ.) เครื่องผูกมวยผม.
  24. สุกฺขาปน : นป. การทำให้แห้ง
  25. อกฺขา : (อิต.) ลูกบาสก์.
  26. อกฺขาตาร : ป. ผู้บอก, ผู้กล่าว, ผู้ประกาศ, ผู้แสดง
  27. อกฺขาตุ : ป. ผู้บอก, ผู้กล่าว, ผู้แสดง
  28. อกฺขายิก : ค. ซึ่งบอกข่าว, ซึ่งบอกเล่า
  29. อกฺขายี : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าว, ฯลฯ.ณีปัจ.แปลงอาเป็นอาย.
  30. อฏฺฐปริขารอฏฺฐปริกฺขาร : (ปุ.) บริขาร ๘.บริขาร ๘ คือปตฺโต บาตร, ติจีวรํไตรจีวร(นับ๓), กายพนฺธนํประคดเอว, วาสิมีดเล็ก (มีดโกน), สูจิ เข็ม, ปริสฺสาวนํผ้ากรองน้ำ(ธมกรก).
  31. อตฺถกฺขายี : (ปุ.) มิตรผู้บอกซึ่งประโยชน์โดยปกติ, มิตรมีปกติบอกซี่งประโยชน์, มิตรแนะประโยชน์.
  32. อธิจิตฺตสิกฺขา : (อิต.) ปฏิทาอัน..พึงศึกษา คือจิตยิ่ง, ข้อที่ควรศึกษาคือจิตยิ่ง, อธิกจิตตสิกขาชื่อหลักการศึกษาทางพุทธศาสนา หลักที่ ๒ใน ๓ หลัก.
  33. อนุรกฺขา : อิต. ดู อนุรกฺขน
  34. อปฺปฏิสงฺขา : อิต. การไม่พิจารณา, การขาดการพิจารณา
  35. อเปขาอเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  36. อเปขา อเปกฺขา : (อิต.) การมองหา, ความเพ่ง, ความเพ่งเอา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ.
  37. อพฺภกฺขาติ : ก. กล่าวตู่, กล่าวคัดค้าน
  38. อภิกงฺขา : (อิต.) ความอยากจัด, ความกำหนัด, ความยินดี, ความรักใคร่.อภิปุพฺโพ, กขิอิจฺฉายํ, อ.
  39. อภิสงฺขาริก : ค. สภาพที่สังขารปรุงแต่ง, สภาพที่บุญปรุงแต่ง
  40. อภิสมย : (ปุ.) การถึงพร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้-พร้อมเฉพาะ, การตรัสรู้, การตรัสรู้ซึ่งธรรมการบรรลุ, การบรรลุธรรม, การละ, การทิ้ง, การปล่อย, การวาง, ความถึงพร้อมเฉพาะ, ฯลฯ, คราวอันยิ่ง, กาลอันยิ่ง.อภิสํปุพฺโพ, อยฺ อิวา คมเน, อ. ตรัสรู้ได้ด้วยอะไร?ตรัสรู้ได้ด้วยจิตที่เป็นปัจจุบันและด้วยญาณในขณะโลกุตตรมรรค.ไตร.๓๑/๖๐๒.
  41. อภิสมาจาริกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันกล่าวถึงขนบธรรมเนียมอันดีของภิกษุ, สิกขาอันเป็นอภิสมาจารเป็นสิกขามานอกพระปาติ-โมกข์ไม่มีจำนวนบอกไว้.
  42. อสมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ในที่ลับหลัง.
  43. อากขาอากงฺขา : (อิต.) ความจำนง, ความปรารถนา, ความหวัง, อากังขาชื่อของตัณหา, ตัณหา. อาปุพฺโพ, กํขฺอิจฺฉายํ, อ.ส.อากางฺกฺษา.
  44. อากงฺขา : อิต. ดู อากงฺขน
  45. อาทิพฺรหฺมจริยกาสิกฺขา : (อิต.) สิกขาอันเป็นเบื้องต้นแห่งพรหมจรรย์ได้แก่ พุทธบัญญัติที่ทรงตั้งไว้เป็นพุทธอาณาอันเป็นข้อบังคับโดยตรงซึ่งภิกษุต้องประพฤติปฏิบัติโดยเคร่งครัด คือสิกขาบทที่มาในพระปาติโมกข์
  46. อารกฺขา : อิต. อารักขา, การรักษา, การคุ้มครองป้องกัน
  47. อิกฺขา : (อิต.) การเห็น, ฯลฯ. อิกขุ ธาตุ อ ปัจ. อา อิต.
  48. อุขา : อิต. ดู อุกฺขลิ
  49. อุทณฺหสมย : ป. เวลารุ่งอรุณ
  50. อุปปริกฺขา : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องเข้าไปเห็น.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-435

(0.0734 sec)