Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เข้าสมัย, เข้า, สมัย , then ขา, เข้, เข้า, เข้าสมัย, สมย, สมัย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เข้าสมัย, 435 found, display 351-400
  1. อุเปขา : อิต. ดู อุเปกฺขนา
  2. โอกฺขายิก : ค. ซึ่งปรากฏ, ซึ่งอยู่ลึก
  3. อกฺขาต : (นปุ.) สภา. อาปุพฺโพ, ขา ปกาสเน, โต. รัสสะ อุปสรรค ซ้อน กฺ.
  4. อกฺขาน : (นปุ.) การบอก, การกล่าว, การแสดง, การชี้แจง, การสวด, เรื่อง, นิทาน, การเล่านิทาน, เสภา, อาขยาน (บทท่องจำ).อาปุพฺโพ, ขา ปกถเน, ยุ. ส. อาขฺยาน
  5. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  6. ขายน : (วิ.) ประกาศ, แสดง, ปรากฏ. ขา ปกาสเน. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. นามกิตก์.
  7. จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
  8. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  9. ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
  10. ทสฺสติ : ๑. ก. เห็น, เข้าใจ; ๒. ก. (ขา) จักให้
  11. พุนฺท : (ปุ.) ราก. วุ สํวรเณ, โท, นิคฺคหิตาคโม, วสฺส โพ. ปุ่ม, พันธุ์ ขา ก็แปล.
  12. กฏุกโรหิณี : อิต. ข่า
  13. กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี : (อิต.) ข่า วิ. กฏุก รสา หุตฺวา รุหตีติ กฏุกโรหิณี กฏุกาโรหิณี วา, กฏุกปุพฺโพ, รุหฺ ชนเน, ยุ, อิตฺถิยํ อี.
  14. กมฺมภว : (ปุ.) กรรมภพ ที่เกิดของกรรมทั้ง ฝ่ายกุศลและอกุศลที่เกิดของสัตว์ผู้มีกรรม ทั้งที่เป็นอกุศลจิต และโลกิยกุศลจิต. ปุญฺ ญา ภิสงฺขาโร อปุญญาภิสงฺขาโร อเนญชา ภิสงฺขาโร อยํ กมฺมภโว. ขุ. จู ไตร. ๓๐/๒๘๕.
  15. กุลีรปาท, - ทก : ค. (เตียง) มีขาเหมือนก้ามปู
  16. กุส, - สก : ป. หญ้าคา, ข่า; สลาก
  17. กุฬีรปาท : (ปุ.) เตียงมีขาดังปู, เตียงมีขา ดังก้ามปู.
  18. โกสิย : (ปุ.) ท้าวโกลีย์ ชื่อของพระอินทร์ชื่อที่ ๑๖ ใน ๒0 ชื่อ, พระอินทร์. วิ. โกสสํขาตานิ ฐานานิ อสฺส อตฺถีติ โกสิโย. โกสิยโคตฺตตาย จ โกสิโย.
  19. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  20. ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
  21. ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
  22. ขลุงฺก : ป. ม้ากระจอก, ม้าขาเขยก
  23. ขาทิกา : (อิต.) แปลเหมือน ขาทน.
  24. โขณฺฑ : (วิ.) กระจอก, คนเขยก, คนขา เขยก.
  25. คนฺธพฺพาธิป : (ปุ.) คันธัพพาธิปะ ชื่อผู้เป็น ใหญ่ในคนธรรพ์ ชื่อท้าวโลกบาลทิศ ตะวันออก, ท้าวธตรฐ. วิ. ปญฺจสิขาทีนํ คนฺธพฺพานํ อธิโป นายโก คนฺธพฺพาธิโป.
  26. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  27. คามณีย : (ปุ.) นายสารถี, คนฝึกช้างและม้า เป็นต้น, หมอช้าง, ควาญช้าง. วิ. คามํ เนติ สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คามปุพฺโพ, นี นเย, โย, นสฺสโณ. คามํ หตฺถาทิสมูห เนตีติวาคามณีโย.คมน วา สิกฺขาเปตีติ คามณีโย. คมน+ณีย ปัจ. อภิฯ น. ๔๐๒.
  28. จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
  29. จิตฺตลตา : (อิต.) จิตรลดา ชื่อสวนพระอินทร์, สวนจิตรลดา (หลากด้วยไม้เถาต่างๆหรือ เป็นที่รวบรวมแห่งไม้ทิพย์). วิ. นานาลตาหิ วลฺลีหิ จิตฺตตฺตา จิตฺตลตา. เทวานํ วา จิตฺตาสา เอตฺถ อตฺถีติ จิตฺตา. อาสาวตี นาม ลตา, สา ยตฺถ อตฺถิ สา จิตฺตลตา. จิตฺตํ ลนฺติ คณฺหนฺตีติ จิตฺตลา, ทิพฺพรุกฺขา ; เตสํ สมูโห จิตฺตลตา.
  30. ชณฺณุ : นป., ชณฺณุกา อิต. เข่า
  31. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  32. ชนฺนุ ชนฺนุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. ดู ชณฺณุ.
  33. ชางฺฆณี : (อิต.) ขา, ขาอ่อน. ส. ชางฺคนี.
  34. ชาณุ : ป. เข่า
  35. ชาณุ ชานุ : (ปุ.) อวัยวะ อันยังการไปให้เกิด (เข่า หัวเข่า). วิ. คมนํ ชาเรตีติ ชาณุ ชานุ วา.
  36. ชานุ, ชานุก : นป. เข่า
  37. ชานุมณฺฑล : นป. บริเวณแห่งเข่า, วงรอบเข่า, แค่เข่า, เข่า
  38. ตกฺกล : (นปุ.) หมาก, กระวาน พรรณไม้ชนิด หนึ่ง ในจำพวกขิง ข่า ใช้ผลปรุงอาหาร และทำยา, ยาง, ยางไม้, ยางรัก. ตกฺกฺ รุกฺขสิเลเส อโล รูปฯ ๖๕๙.
  39. ติทส : (ปุ.) เทวดามีชายสาม (ชายผ้า), เทวดามีชายผ้าสาม, ติทสา ชื่อของเทวดา ชื่อที่ ๑ ใน ๑๔ ชื่อใช้เป็นพหุ. ทั้ง ๑๔ ชื่อ, เทวดา. ดูอภิฯคาถาที่๑๑และ๑๒. ติ+ทสา (ชาย ชายผ้า). วิ. ชาติสตฺตาวินาสสํขาตา ติสฺโส ทสา ปริมาณา เอเตสนฺติ ติทสา.
  40. ถูลงฺค : ค. ผู้มีอวัยวะ (แขนขา) อ้วนใหญ่
  41. ทพฺภ : (ปุ.) หญ้าคา. ทุ ปริตาเป, อพฺโภ. แปลว่า ข่า ก็มี. เป็นทพฺภิ บ้าง.
  42. ทยา : (อิต.) ความเอ็นดู, ความอนุเคราะห์, ความรัก, ความรักใคร่, ความกรุณา. วิ. ทยติ ปรทุกขํ อตฺตสุขญฺจ หึสตีติ ทยา. ทยฺ ทานคติหึสาทานรกฺขาสุ, อ. อธิบายความหมายของศัพท์ ทยา ตามอรรถของธาตุ ให้คือให้อภัยแก่สัตว์ ไป คือ จิตไปเสมอในคนดีคนชั่วและสัตว์เบียดเบียนคือ รบเร้าจิตเตือนให้ช่วยเหลือผู้อื่น. ส. ทยา.
  43. เทหก : นป. ดู เทห(เมื่อใช้ในรูปพหูพจน์ แปลว่า แขนขา)
  44. ธมฺมคุณ : (ปุ.) ความดีของพระธรรม, ประโยชน์ของพระธรรม, คุณของพระธรรม, พระธรรมคุณ ชื่อบาลีสำหรับสวดสรรเสริญพระธรรมว่า สฺวากฺขาโต ฯลฯ วิญฺญูหีติ.
  45. ธี : (อิต.) ปรีชา, ปัญญา. วิ. ฌายตีติ ธี, เฌ จินฺตายํ, กฺวิ, ฌสฺส โธ, เอการสฺส อีกาโร. ธาเรตีติ วา ธี. ธา ธารเณ, สํขาเรสุ วิกาโร ชายติ เอตายาติ วา ธี, ชนฺ ชนเน, ชนสฺส ชา. แปลง ชา เป็น ธา แปลง อา ที่ ธา เป็น อี.
  46. นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
  47. ปกฺข : ป. ข้าง, ส่วน, ฝ่าย, สีข้าง, ปีก, ปักษ์, คนขาเขยก, พรรค
  48. ปงฺคุ, ปงฺคุล : ป., ค. ขาเขยก, คนพิการ
  49. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  50. ปฏิสงฺขาย : กิต. ดู ปฏิสงฺขา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-435

(0.0585 sec)