Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นลำดับ, ลำดับ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นลำดับ, ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นลำดับ, 4351 found, display 101-150
  1. กโมลิ กโมฬิ : (ปุ. อิต.) โมลีแห่งหมู่พรหม, โมฬีแห่งหมู่พรหม. วิ. เกสํ พฺรหฺมานํ โมลิ โมฬิ วา กโมลิ กโมฬิ วา. เป็น กโมลี บ้าง.
  2. กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
  3. กรุณา : (อิต.) ความหวั่นใจ, ความหวั่นใจใน เมื่อผู้อื่นมีทุกข์, ความสงสาร, ความสงสาร คิดจะช่วยให้เขาพ้นทุกข์, ความเอ็นดู, ความปราณี, ความอนุเคราะห์, ความกรุณา, กรุณา. วิ. ปรทุกฺเข สติ สาธูนํ หทยกมฺปนํ กโรตีติ กรุณา. กรฺ กรเณ, อุโณ, กุโน วา, กโลโป, นสฺส ณตฺตํ. กํ สุขํ รุนฺธตีติ วา กรุณา. กปุพฺโพ, รุธิ อาวร เณ, อุโณ, ธิโลโป. กิรตีติ วา กรุณา. กิรฺ วิกฺขิปเน, อุโณ. กิณาตีติ วา กรุณา. กิ หึสายํ, รุโณ. กิรียตีติ วา กรุณา. กิรฺปสาร เณ, ยุ. กมฺปนํ กโรตีติ วา กรุณา. กรฺ กรเณ, ยุ. แปลง ยุ เป็น อณ รฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ อาอิต. ส. กรูณ.
  4. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  5. กเรณุกา : (อิต.) ช้างพัง. เป็น กริณุกา บ้าง.
  6. กเรริ : (ปุ.) กุ่ม, ไม้กุ่ม ชื่อต้นไม้ ใบออกจาก ต้น เป็นใบย่อย ๓ ใบ มีสองชนิดคือ กุ่ม น้ำ กุ่มบก. กลฺ สํขฺยาเณ, อีโร, ลสฺสโร. แปลง อี เป็น เอ อ ที่ ร เป็น อิ. แปลง เป็น อี เป็น กเรรี บ้าง.
  7. กล : (ปุ.) เสียงไม่ชัด (แต่เป็นที่ชอบใจ), เสียงอ่อน, เสียงวังเวง, เสียงดังวังเวง (ดนตรี). กลฺ สทฺเท กลิเล วา, อ. อภิฯ เป็น ไตรลิงค์. ส. กล.
  8. กลตฺต กฬตฺต กลตฺร : (นปุ.) ภรรยา. กลฺ สงฺ ขฺยาเณ, ตปจฺจโย, ตฺรณฺปจฺจโย วา. สอง ศัพท์แรก แปลง ต เป็น ตฺต อภิฯ ฎีกาฯ และรูปฯ ลง อตฺต ปัจ. ศัพท์หลังลง ตฺรณฺ ปัจ. ลบ ณฺ. ส. กลตฺร.
  9. กลมฺพก : (ปุ.) ผักทอดยอด (ผักบุ้ง) วิ. เก อุทเก ลมฺพตีติ กลมฺพโก (เลื้อยอยู่ในน้ำ). กปุพฺโพ, ลมฺพฺ อวสํสเน, ณฺวุ. เป็น กลมฺ- พุก บ้าง.
  10. กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
  11. กลวิก กลวึก กลวิงฺก กลวีก : (ปุ.) นกกระจอก. วิ. กลหํ รวตีติ กลวึโก. กลหปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อิโก. ลบ ลห แปลง อุ เป็น อว รฺ เป็น ลฺ นิคคหิตอาคม. กํ สุขํ ลุนาตีติ วา กลวึโก. กปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อิโก. ศัพท์ต้นไม่ลงนิคคหิตอาคม ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. กลวิงฺก.
  12. กลิล : (วิ.) รก, ชัฏ, ทึบ, ต้น, ไม่ทะลุ. วิ. กลึ ลาตีติ กลิโล. กลิปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ. กลฺ คติสํขยาเณสุ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กลิล.
  13. กส : (ปุ.) เครื่องเงิน, ภาชนะแห่งโลหะ, โลหะ ต่าง ๆ, จาน, สำริด, ทองสำริด, ทองสัมฤทธิ์ (เป็นทองผสมด้วยโลหะต่าง ๆ มี ทองแดงดีบุกเป็นต้น), ถ้วย, ถ้วยสำหรับ ดื่มสุรา. กนฺ ทิตฺติคติกนฺตีสุ, โส. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต.
  14. กสฏ : (ปุ.) กาก ส่วนที่คั้นหรือคัดเอาของดี ออกแล้ว, เดน ของที่ไม่ต้องการแล้ว ของ ที่เหลือแล้ว. เป็น กสต ก็มี. กส. วิเลขเณ, โต.
  15. กสฺมีร : (ปุ.) กัสมีระ ชื่อชนบทพิเศษของ อินเดียโบราณ. กาสฺ ทิตฺติยํ, มีโร. เอา อา เป็นเป็นกสฺมิร โดยรัสสะ อี เป็น อิ บ้าง. ส. กศฺมีร.
  16. กสฺสก : (ปุ.) คนไถนา, ชาวนา. วิ. กสฺสตีติ กสฺสโก. กสฺ วิเลขเณ, ณฺวุ. แปลง ส เป็น สฺส. ส. กรฺษก.
  17. กสาย : (วิ.) เป็น...เหลว, เป็นน้ำ.
  18. กสิ : (อิต.) การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสนํ กสิ. เครื่องไถ. ลง อี ปัจ. เป็น กสี บ้าง.
  19. กหาปณ : (ปุ. นปุ.) กหาปณะ ชื่อมาตราเงิน ๒๐ มาสก เป็น ๑ กหาปณะ เป็นเงิน ไทยประมาณ ๔ บาท หรือ ๑ ตำลึง. วิ. กรีสปฺปมาเณน รูเปน กโต ปโณ ปณิโย ทพฺพเภโท กหาปโณ. แปลง รีส เป็น ห แล้วทีฆะ อภิฯ และเวสฯ ๕๖๗.
  20. กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
  21. กาช : (ปุ.) คาน ชื่อไม้สำหรับหาบของ, หาบ ติณกาช หาบแห่งหญ้า. กจฺ พนฺธเน, โณ, จสฺส โช. เวสฯ ๓๕๓ เป็น กชฺช พฺยตเน, อ. ลบ ชฺ สังโยค.
  22. กาตร : (วิ.) ไม่หาญ, ไม่แน่ใจลงไป, ทำให้ ฉงน. กุศัพท์ ตร ปัจ. แปลง กุ เป็น กา หรือ กุบทหน้า ตรฺธาตุในความข้าม อ ปัจ. วิ. อีสํ ตรติ สการิยํ กตฺตุ สกฺโกตีติ กาตโร. อภิฯ. ส. กาตร.
  23. กาตฺร : (วิ.) ไม่หาญ, ฯลฯ. กุ ศัพท์ ตฺรณฺ ปัจ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๖๕๖.
  24. กาติยาน : (ปุ.) คนเป็นเหล่ากอแห่งกัจจะ, คนเป็นเชื้อวงศ์แห่งกัจจะ. แปลง กจฺจายน เป็น กาติยาน.
  25. กาปญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันคน ควรกรุณา, ความเป็นแห่งคนผู้ควรสงสาร. กปณ ศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ทีฆะต้น ศัพท์ ลบ อ ที ณ ด้วยอำนาจ ปัจ. ได้รูป เป็น ณฺ ลบ ณฺ ของปัจ. เหลือ ย รวมกับ ณฺ ที่สุดศัพท์ เป็น ณฺย แปลง ณฺย เป็น ญฺญ.
  26. กาปุริส : (ปุ.) บุรุษอันบัณฑิตพึงเกลียด, บุรุษชั่ว, คนชั่ว, คนชั่วร้าย, คนเลว. วิ. กุจฺฉิตพฺโพ จ โส ปุริโส จาติ กาปุริโส, ลบอักษรศัพท์หน้า เหลือแต่ กุ แปลง กุ เป็น กา.
  27. กาผิ : (อิต.) กาแฟ. กปุ สามตฺถิเย, ณิ. แปลง ป เป็น ผ.
  28. กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
  29. กามน : (วิ.) ผู้ใคร่, ผู้ใคร่จัด. กมุ อิจฺฉายํ, ยุ. เป็น กมน กามิน บ้าง. ส. กามน กามินฺ
  30. กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  31. กายน : (นปุ.) การออกเสียง, การร้อง, เสียง ร้อง. กุ สทฺเท, ยุ. แปลง อุ เป็น อาย.
  32. การณิก : (วิ.) ผู้รู้เหตุผลได้ทันที, ผู้พิจารณา เหตุผลได้รวดเร็ว. วิ. การณผลํ ชานาตีติ การณิโก. อิก ปัจ. ลบ ผล. ในอภิฯ บท หน้าเป็น การณํ เป็น ปุพเพกเสสสมาส.
  33. การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
  34. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  35. กาลกิริยา : (อิต.) การทำซึ่งความตาย, ความตาย, วิ. กาโล อตีตาทิ, ตสฺส กิริยา กาลกิริยา. ไทยใช้ กาลกิริยา เป็น กริยา ว่า ตาย.
  36. กาลวณ : (นปุ.) เกลือ, เกลือน้อย. วิ. กุ อปฺปกํ ลวณํ กาลวณํ. แปลง กุ เป็น กา กัจฯ ๓๓๖ รูปฯ ๓๓๒ โมคฯ สมาส กัณฑ์ ๑๐๘.
  37. กาสิ : (ปุ.) กาสี ชื่อชนบทพิเศษ ๑ ใน ๒๐ ของอินเดียโบราณ วิ. สมฺปตฺติยา กาสตีติ กาสิ. กาสฺ ทิตฺติยํ, อิ. เวสฯ เป็น กาสี.
  38. กาฬาวก : (ปุ.) กาฬาวกะ ชื่อตระกูลช้าง ตระกูลที่ ๑ ใน ๑๐ ตระกุล วิ. กลมฺพเต สทฺทายเตติ กาฬาวโก. ณฺวุ, มฺโลโป. ฎีกา อภิฯ อีก ๙ ตระกุล คือ คงฺเคยฺย ปณฺฑร ตมฺพ ปิงฺคล มงฺคล เหม อุโปสถ ฉทฺทนฺต, คนฺธ. ทั้ง ๑๐ ตระกูลนี้ ทางพม่าและฏีกา อภิฯ เป็น นปุ.
  39. กิญฺจญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มี ความกังวล, ฯลฯ. กิญฺจน+ณฺย ปัจ. ลบ อ ที่ น เป็น นฺ ลบ ณฺ รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญฺญ.
  40. กิฏฺฐ : (นปุ.) ข้าวกล้า คือข้าวเปลือกที่เพาะ ไว้ล่วงหน้า สำหรับถอนย้ายไปดำที่ที่ทำ เลนไว้. กฏฺ คติยํ, โฐ, อสฺสิ (แปลง อ ที่ ก เป็น อิ).
  41. กิณ : (นปุ.) การซื้อ. กี ธาตุ ณา ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์ รัสสะ อี เป็น อิ รูปฯ ๖๓๐.
  42. กินฺนร : (ปุ.) คนหรือ. กึ+นร. คนน่าเกลียด วิ. กุจฺฉิโต นโร. กินนโร ลบ จฺฉิต เหลือ กุ แปลง อุ เป็น อิ ลงนิคคหิตอาคมแล้ว แปลงเป็น นฺ. สัตว์เหมือนคน, สัตว์คล้าย คน, กินนร. วิ. กิ สทิโส นเรนาติ กินฺนโร (เหมือนคน). กินนร เชื่อกันว่าเป็นอมนุษย์พวก หนึ่ง อยู่ในป่าหิมพานต์ มีสองพวก พวกหนึ่งเป็นครึ่งคนครึ่งนกท่อนบนเป็นคน ท่อนล่างเป็นนก อีกพวกหนึ่งเหมือนคน จะไปไหนมาไหนก็ใส่ปีก ใส่หางบินไป. ส. กินฺนร.
  43. กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
  44. กิมุต : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง. เป็น อติสยัตถะ. หรือ, หรือว่า, หรือไม่. เป็น วิกัปปวิตักกะ และ ปุจฉนะ.
  45. กิร : (อัพ. นิบาต) ได้ยินว่า, ดังได้สดับมา, ทราบว่า, ได้ทราบว่า, นัยว่า, ข่าวว่า. เป็น อนุสสวนัตถะ. ไม่ชอบใจ. เป็น อรุจิยัตถะ.
  46. กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
  47. กิริณี : (อิต.) ช้างพัง, ช้างตัวเมีย, นางช้าง. กรี+อินี แปลง อ เป็น อิ.
  48. กิลาสุ : (วิ.) เกียจคร้าน. กุจฺฉิตปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, ณุ, ลบ จฺฉิต แล้วแปลง อุ ที่ กุ เป็น อิ.
  49. กิเลส เกฺลส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมอง, ธรรมเป็นเครื่องเศร้าหมองแห่งจิต, ธรรม อันยังจิตให้เศร้าหมอง, ความเศร้าหมอง ความเปรอะเปื้อน (แห่งจิต), ความลำบาก, ความเบียดเบียน, ความกำจัด, ความทำลาย, ความเผา, ความแผดเผา, ความทุกข์, ภาวะที่เกิดขึ้นในใจ และทำใจให้เศร้า หมอง, มลทิน (ของใจ), วิ. กิลิสฺสนฺติ เอเตหิ สตฺตาหิ กิเลสา. กิลิสนํ วา กิเลโส. กิลิสฺ กิเลสนวิพาธนอุปตาเปสุ, อ. ศัพท์ หลัง แปลง อิ เป็น เอ. นัยของวิปัสสนา ปทีปนีฎีกา.
  50. กิสลย : (นปุ.) ยอดอ่อน, ข้อ. วิ. กสติ วุทฺธึ ยาตีติ กิสลยํ. กสฺ คมเน. อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ อย ปัจ. ลฺ อาคมในท่ามกลาง แปลง อ ที ก เป็น อิ. อภิฯ ลง ย ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350

(0.1496 sec)