Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นลำดับ, ลำดับ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นลำดับ, ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นลำดับ, 4351 found, display 1251-1300
  1. อุทาน : (นปุ.) การเปล่ง, คำเปล่ง, คำที่เปล่ง ขึ้นทันที. อุปุพฺโพ, อิ อุจฺจารเณ, ยุ, ทฺ อาคโม, แปลง อิ เป็น อา.
  2. อุทาสีน : (วิ.) เป็นกลาง (ไม่เข้าข้างฝ่ายใด ฝ่ายหนึ่ง), นั่งอยู่นอกพวก, นั่งนอกพวก. อุ อา บทหน้า สี ธาตุ อาน ปัจ. แปลง อาน เป็น อีน. ส. อุทาสีน.
  3. อุเทฺรก : (ปุ.) การราก, การเรอ, การอ้วก. วิ. อุทฺธํ เทกติ คนฺตุ มุสฺสหตีติ อุเทฺรโก. อุทธํปุพฺโพ, เทกิ สทฺเท, โณ, ทการสฺส โร. เป็น อุทฺเทก บ้าง.
  4. อุปกฺขร : (ปุ.) เพลา, เพลารถ. วิ. อุปริ กรียเตติ อุปกฺขโร. อ ปัจ. แปลง กร เป็น ขร ซ้อน กฺ.
  5. อุปฆาต : (ปุ.) การเข้าไปกระทบ, การเข้าไป ทำร้าย, การเข้าไปเบียดเบียน, การเข้าไป ฆ่า, วิ. อุปหนตีติ อุปฆาโต. อุปปุพฺโพ, หนฺ หีสายํ, โณ, หนสฺส ฆาโต. แปลง ต เป็นเป็น อุปฆาฏ บ้าง.
  6. อุปจฺจย : (ปุ.) การก้าวล่วง, การล่วงละเมิด. อุป อติ ปุพฺโพ, อยฺ คมเน, อ. แปลง อติ เป็น จฺจ.
  7. อุปชฺช : (ปุ.) ภพอันสัตว์เข้าถึงไม่มีระหว่างคั่น, ภพที่สอง, ภพหน้า. อุปปพฺโพ, ปทฺ คติยํ, อ. แปลง ท เป็น ช แล้วแปลงเป็น ชฺช.
  8. อุปชฺฌาย : (ปุ.) อุปัชฌาย์, พระอุปัชฌาย์. วิ. มนสา อุเปจฺจ สิสฺสานํ หิเตสิตํ อุปฏฺฐ- เปตฺวา ฌายตีติ อุปชฺฌาโย (ผู้เพ่งด้วยใจ เข้าไปใกล้ชิด แสวงหาประโยชน์เกื้อกูล แก่ศิษย์ ท.) พระเถระผู้ให้การอบรม, พระเถระผู้เป็นประธาน ในการอุปสมบท. อุปปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, โณ. แปลง เอ เป็น อาย. ส. อุปธฺยาย.
  9. อุปญฺญาส : (ปุ.) คำนำเรื่อง, อารัมภกถา. วิ. อุป ปฐมํ ปุริมวจนสฺส สมีปํ วา นฺยาโส ฐปนํ อุปญฺญาโส. อุป นิ ปุพฺโพ อาสฺ อุปเวสเน, อ. แปลง อิ ที่ นิ เป็น ย รวมเป็น นฺย แปลง นฺย เป็น ญ ซ้อน ญฺ หรือแปลง นฺย เป็น ญฺญ. สาวัตถทีปนี เป็น อุปญาส.
  10. อุปณาหี : (วิ.) ผู้ผูกโกรธ, ผู้ผูกใจเจ็บแค้น. อุปปุพฺโพ, นหฺ พนฺธเน, ณี. แปลง น เป็น ณ.
  11. อุปณิธิ : (ปุ.) การฝากไว้, การฝังไว้, การจำนำ, การจำนำไว้. อุป นิ ปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. แปลง นิ เป็น ณิ.
  12. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  13. อุปนนฺธ อุปนนฺธิ อุปนทฺธ : (วิ.) ผูกใจเจ็บ. อุปปุพฺโพ, นนฺธ วินนฺธเน, อ, อิ. ศัพท์ที่ ๓ แปลง นฺ เป็น ทฺ.
  14. อุปฺปาต อุปฺปาท : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดขึ้น, อาเพศแห่งดินฟ้าอากาศ แสดงผลดีผลชั่ว, ลางชี้ผลดีและผลชั่ว, อุบาต อุบาท (เหตุ การณ์ที่เกิดขึ้นผิดปกติ). วิ. สุภาสุภผลํ ปกาเสนฺโต อุปฺปตฺตีติ อุปฺปาโต, ปตฺ คติยํ, โณ, ปฺสํโยโค. การเกิดขึ้น, การบังเกิดขึ้น, เหตุ. วิ. อุปฺปตฺติ อุปฺปาโต. ศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ท. ส. อุตฺปาต อุตฺปาท.
  15. อุปย : (ปุ.) การเข้าถึง. อุปปุพฺโพ, อิ คมเน, อ. แปลง อิ เป็น ย.
  16. อุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้ ความเข้าใจ (ญาณ), ความได้, ปัญญา. อุปปุพฺโพ, ลภฺ ลาเภ, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบ ภฺ. อุปลาป
  17. อุปสมฺปทกมฺม : (นปุ.) การทำการอุปสมบท, อุปสมบทกรรม คือการบวชเป็นภิกษุ. อุปสมฺปทา+กมฺม รัสสะ อา เป็น อ.
  18. อุปาทายรูป : (นปุ.) รูปอันอาศัยมหาภูตรูป เป็นไป. วิ. มหาภูตานิ อุปาทาย ปวตฺตํ รูปํ อุปาทายรูปํ. รูปอันเป็นอาการของ มหาภูตรูป. ลบ ย เป็น อุปาทารูป บ้าง.
  19. อุเปกฺขา : (อิต.) ความเพ่ง, ความเล็ง, ความหวัง, ความวางเฉย, ความวางใจเป็นกลาง, ความมีใจเฉยอยู่, ความเที่ยงธรรม (มีใจ มั่นอยู่ในกัมมัสสกตาญาณ.) วิ. ทฺวินฺนํ เวทนานํ สมีเป ปวตฺตา อิกฺขา อนุภวนฺนตีติ อุเปกฺขา. อุปตฺติโต อกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุเปกฺขตีติ วา อุเปกฺขา. อุปปุพฺโพ, อิกฺขฺ ทสฺสนงฺเกสุ, อ. เป็น อุเปขา โดยลบ กฺ ก็มี. ส. อุเปกฺษา.
  20. อุโปสถ : (ปุ.) อุโปสถะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ที่ ๙ ใน ๑๐ ตระกูล ช้างตระกูลนี้มีสีเป็นสี ทองคำ วิ. อุโปสถกุเล ชาตตฺตา อุโบสโถ. ณ ปัจ. ฎีกาอภิฯ เป็น นปุ.
  21. อุพฺพฏฺฏน อุพฺพตฺตน : (นปุ.) การขัดสี. อุปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ศัพท์ต้น แปลง ตฺต เป็น ฏฺฏ.
  22. อุพฺพิคฺค อุพฺเพค : (วิ.) หวาด, หวาดหวั่น, หวาดเสียว, ตกใจ, สะดุ้ง. อุปุพฺโพ, วิชี ภยจลเนสุ, อ. แปลง ว เป็น พ ช เป็น ค ศัพท์ต้นแปลง ค เป็น คฺค ศัพท์หลังวิการ อิ เป็น เอ ซ้อน พฺ.
  23. อุมฺมา : (อิต.) ฝ้าย, ผักตบ, ดอกไม้สีเขียว, ดอกไม้สีเขียวฟ้า. ไตร ๑๐ / ๑๒๙. อวฺ รกฺขเณ, โม, อวสฺสุ (แปลง อว เป็น อุ), ทวิตฺตํ (แปลง ม เป็น มฺม). เป็น อุมา โดยไม่แปลงบ้าง.
  24. อุมฺมาร : (ปุ.) ธรณี, ธรณีประตู. อุรฺ คติมฺหิ, มาโร. แปลง รฺ เป็น มฺ.
  25. อุมาต อุมฺมาต : (ปุ.) คนบ้า. อุปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. แปลง ท เป็น ต.
  26. อุรพฺภ : (ปุ.) แกะ, แพะ, เนื้อทราย. วิ. พาธิย- มาโนปิ น รวตีติ อุรพฺโภ. อุปุพฺโพ, รุ สทฺเท, โภ. พฤทธิ อุ ที่ รุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว.
  27. อุรมฺภ : (ปุ.) แกะ, แพะ. อุ ในอรรถแห่ง น, รุ ธาตุ ภ ปัจ. แปลง อุ ที่ รุ เป็น อ ลง นิคคหิตอาคม.
  28. อุรุณ : (ปุ.) แกะ, แพะ, อุรณ ศัพท์ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ.
  29. อุลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, ระลอกใหญ่, ลูกคลื่น, คลื่นใหญ่, ความปั่นป่วน, ความไม่ราบ คาบ. อุปุพฺโพ, ลุฬฺ มนฺถเน, อ ซ้อน ลฺ แปลง ฬ เป็น ล. ส. อุลฺโลล.
  30. อุสฺส อุสฺสนฺน : (วิ.) หนา, หนาขึ้น, มาก, สูง, สูงขึ้น. อุปุพฺโพ, สทฺ วิสรเณ, อ, สฺสํโย โค, ทฺโลโป. ศัพท์หลังลง ต ปัจ. แปลง ต เป็น นฺน ลบ ท.
  31. อุสฺโสฬฺหิ : (อิต.) ความเพียรยิ่ง วิ. อุ ปพาฬฺหํ ทุกฺกรกมฺมํ สหติ ยายาติ อุสฺโสฬหิ. อุปุพฺ โพ, สห ปสหเน, โฬฺห, สหสฺส โส. อุสฺ สาหานํ อูหาติ วา อุสฺโสฬฺหิ. อุสฺสาห+อูหา แปลง อา ที่ศัพท์ อุสฺสาห เป็น โอ และ ลบ ห ลบ อู แห่ง อูหา แปลง หฺ เป็น ฬฺห อี อิต. รัสสะ เป็น อิ ฎีกาอภิฯ ไม่ รัสสะ ได้รูปเป็น อุสฺโสฬฺหี วิเคราะห์แรก ฎีกาอภิฯ แปลง สห เป็น โสฬฺห.
  32. อุสีร : (นปุ.) แฝก, หญ้าแฝก, รากแฝก, หญ้า คมบาง, หญ้าไทร. วสฺ กนฺติยํ, อีโร, วสฺสุ (แปลง ว เป็น อุ.), อุสฺ ทาเห วา, อีโร. อุสุ
  33. อุฬุ : (อิต.) ดาว วิ. อุลยตีติ อุลู. อุลูเอว อุฬุ. อุลฺ คมเน, อู. รัสสะ อู เป็น อุ. ฎีกาอภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น นปุ. บ้าง.
  34. อุฬุก อุฬุงฺก : (ปุ.) แปลเหมือน อุหุการ. อุหุ  บทหน้า กา ธาตุ ในความร้อง อ ปัจ. แปลง ห เป็นเป็น อุลุงฺก อุฬูก บ้าง.
  35. อุฬุป อุฬุปฺป อุฬุมฺป : (ปุ.) พวง (กลุ่มของที่ ห้อยย้อยไปทางเดียวกัน), แพ (กลุ่มของที่ เอามาผูกติดกันเป็นพาหนะทางน้ำ), ป่าไม้ (ดื่มน้ำไว้ ซับน้ำไว้ รักษาน้ำไว้). อุปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ศัพท์ที่ ๒ ซ้อน ปฺ ศัพท์ ที่ ๓ ลงนิคคหิตอาคม แล้วแปลง เป็น มฺ.
  36. อูมิ : (ปุ. อิต.) คลื่น, ระลอก. วิ. อูเหนฺติ เอเตนาติ อูมิ. อูหฺ วิตกฺเก, มิ, หฺโลโป. อรฺ คมเน วา, มิ, อสฺสุ, ทีโฆ (แปลง อ เป็น อุ แล้ว ทีฆะ), รฺโลโป. ส. อูรฺมฺมิ, อูรฺมิ.
  37. อูรุ : (วิ.) ใหญ่, หนา, มาก. วิ. อรติ มหนฺต ภาวํ คจฺฉตีติ อูรุ. อรฺ คมเน, อุ, อสฺสู (แปลง อ เป็น อู).
  38. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  39. เอกจตฺตาลีส เอกจตฺตาฬีส : (อิต.) ยี่สิบยิ่ง ด้วยหนึ่ง, ยี่สิบเอ็ด. วิ. เอเกนาธิกา จตฺตาลีสํ เอกจตฺตาลีสํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  40. เอกภาว : (ปุ.) ความเป็นหนึ่ง, ความเป็นอัน เดียวกัน. เอกภาว ไทยนำมาใช้ว่าเอกภาพ (แปลง ว เป็น พ) และออกเสียงว่า เอกกะภาพ ในความหมายว่า ความเป็น อันหนึ่งอันเดียวกัน ความสอดคล้อง กลมกลืนกัน.
  41. เอกมนฺต : (ปุ. นปุ.) ส่วนเดียว, ส่วนข้างเดียว, ที่สุดส่วนข้างหนึ่ง, ที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ที่ สมควร. มงคลทีปนี เป็น นปุ.
  42. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  43. เอตฺถ : (อัพ. นิบาต) ใน...นี้. เอต แปลงมาจาก อิม ถ ปัจ ลบ อ ที่ ต อภิฯ. หรือลง ตฺถ ปัจ. แปลง เอต เป็น เอ.
  44. เอตทคฺค : (วิ.) ผู้ยอดในทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมใน ทางหนึ่ง, ผู้ยอดเยี่ยมในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางหนึ่ง, ผู้เลิศในทางใดทางหนึ่ง, ผู้เยี่ยมในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, ผู้เลิศ ในทางใดทางหนึ่งโดยเฉพาะ, เอตทัคคะ. เอก+อคฺค แปลง ก เป็น ต ทฺ อาคม.
  45. เอตรหิ : (อัพ. นิบาต) ในกาลนี้, เดี๋ยวนี้, บัดนี้, ไม่นาน, เมื่อกี้. วิ. เอตสฺมึ กาเล เอตรหิ. อิม ศัพท์ รหิ ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต กัจฯ ๒๓๖ รูปฯ ๒๘๐.
  46. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  47. เอตาวนฺต เอตฺตาวนฺต : (วิ.) มีปริมาณเท่านี้, มีประมาณเท่านี้. อิม+วนฺต ปัจ. แปลง อิม เป็น เอต ทีฆะ ที่สุดศัพท์ ซ้อน ตฺ. มีปริมาณเท่านั้น, มีประมาณเท่านั้น. เอต+วนฺต ปัจ. เป็น เอตฺตาวนฺตุ โดยลง วนฺตุ ปัจ. บ้าง. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๔๓ ลง อาวนฺตุ ปัจ. แปลง อุ เป็น อ.
  48. เอติหฺย เอติหย : (นปุ.) คำสอนอันมาแล้วแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนอันสืบมาแต่ อาจารย์ในปางก่อน, คำสอนที่สืบมาแต่ อาจารย์ในกาลก่อน. ปุพฺพาจริย+เอต (อัน มาแล้ว อันมา อันสืบมา) +อา+อหฺ ธาตุ ในการเปล่งเสียง ย, อย ปัจ. แปลง อา เป็น อิ หรือ เอติ (อันมา อันสืบมา) อหฺ ธาตุ ย, อย ปัจ. ลบ ปุพฺพาจริย.
  49. เอโต : (อัพ. นิบาต) แต่นั่น, แต่นั้น. เอต+โต ปัจ แปลง เอต เป็น เอ. ข้างโน้น. อมุ+โต แปลง อมุ เป็น เอ.
  50. เอรณฺฑ เอรณฺฑก : (ปุ.) ระหุ่ง, เทพทาโร ชื่อไม้ชนิดหนึ่งเปลือกหอมใช้ปรุงอาหาร และทำยา. วิ. โรคํ เอรณฺฑตีติ เอรณฺโฑ. เอรฑิ หึสายํ, โก. รูปฯ ๖๕๗ ศัพท์หลัง ไม่ลบ ก อภิฯ ลง ณ ปัจ. โรคํ นั้นฎีกา อภิฯ เป็น วาตํ. ส. เอรณฺฑ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | [1251-1300] | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350

(0.1585 sec)