Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นลำดับ, ลำดับ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นลำดับ, ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นลำดับ, 4351 found, display 1901-1950
  1. ญตฺติจตุตฺถกมฺมอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบทด้วยกรรมวาจามีญัตติเป็นที่สี่.
  2. ญตฺติทุติยกมฺม : (นปุ.) กรรมมีวาจาครบสอง ทั้งญัตติ, ญัตติทุติยกรรม คือการสวด – ประกาศมีญัตติเป็นที่สอง กรรมอันทำด้วย ตั้งญัตติแล้วสวดอนุสาวนาหนเดียว.
  3. ญาณ : (ปุ. นปุ.) ความรู้, ปรีชา, ปัญญา. วิ. ชานนํ ญาณํ. ธรรมชาตเป็นเครื่องรู้ วิ. ชานาติ เอเตนาติ ญาณํ. ธรรมชาติผู้รู้ อริยสัจสี่ วิ. จตุสจฺจํ ชานาตีติ ญาณํ. ญา+ยุ ปัจ.
  4. ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
  5. ญาตตฺถจริยา : (อิต.) ความประพฤติเป็นไป เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เป็นประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ เพื่อประโยชน์แก่ญาติ, ความประพฤติ ประโยชน์ของญาติ.
  6. ญาติก : (ปุ.) คนผู้เป็นญาติ, ญาติชาย, พี่น้อง, ญาติ.
  7. ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
  8. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  9. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  10. ฐปนฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้งไว้.
  11. ฐาน : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่อันเขาตั้ง, เป็นที่ ยืน, เป็นที่อันเขายืน. วิ. ติฏฺฐติ เอตฺถาติ ฐานํ. ติฏฺฐิยเต เอตฺถาติ วา ฐานํ. เป็นที่ตั้ง แห่งผล วิ. ติฏฺฐติ ผลํ เอตฺถาติ ฐานํ. เหตุ, มูลเค้า. ฐา คตินิวตฺติยํ, ยุ.
  12. ฐานกรณ : (นปุ.) ที่ตั้งและวัตถุเป็นเครื่องทำ (ให้เกิดเสียงในการพูด).
  13. ฐานนฺตร : นป. ฐานันดร, ลำดับแห่งยศบรรดาศักดิ์
  14. ฐานาฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  15. ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
  16. ฐานิย : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นฐานะ, ควรแก่ฐานะ, น่ารัก, น่าชม.
  17. ฐิตฐาน : ค. ที่เป็นที่ยืน, สถานที่ตั้ง
  18. ฐิตตฺต : ๑. นป. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น, ๒. ผู้มีตนอันตั้งมั่นแล้ว, ผู้บังคับหรือควบคุมตนได้
  19. ฐิตตา : อิต. ความเป็นผู้ดำรงอยู่, ความเป็นผู้ตั้งมั่น
  20. ฐิติ : อิต. การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, ความมั่นคง, ความอดทน, ความเป็นอยู่
  21. ฐิติภาว : ป. ความเป็นแห่งการตั้งอยู่, ความเป็นผู้มั่นคง
  22. : (ปุ.) ความระคน, ความเป็นใหญ่ยิ่ง, ความสะดุ้ง, เสียง. อภิฯ น. ๔๖๒.
  23. : (ไตรลิงค์) เป็นปุริสสัพพนามและวิเสสน- สัพพนาม ต ศัพท์ที่เป็นปุริสสัพพนามเป็น ประถมบุรุษสำหรับออกชื่อคนและสิ่ง ของ ซึ่งผู้พูดออกชื่อถึง แปลว่า ท่าน เธอ เขา มัน นาย นาง เป็นต้น ต ศัพท์ที่ เป็นวิเสสนสัพพนาม แปลว่า นั้น.
  24. ต : (อัพ. นิบาต.) เพราะ, เพราะเหตุนั้น, ด้วย เหตุนั้น. เป็นการณัตถนิบาต และ ปูร – ณัตถนิบาต.
  25. ตกฺกากม : ป. ลำดับแห่งความตรึก
  26. ตกฺการี : (อิต.) คนทา ชื่อพรรณไม้สกุลปลา ไหลเผือกรากใช้เป็นยาแก้ไข้ในกลุ่มยา ๕ ราก โบราณเรียกว่ายาแก้ว ๕ ดวง หรือยา แก้ว ๕ ราก วิ. ตํ ตํ โรคขยนาทิกํ กโรตีติ ตกฺการี. ณีปัจ.
  27. ตขณิก : (วิ.) อันเป็นไปในขณะนั้น
  28. ตงฺค : (ปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ตคิ คติยํ อ. ยุ.
  29. ตงฺคน : (นปุ.) การไป, การถึง, การเป็นไป. ตคิ คติยํ อ. ยุ.
  30. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  31. ตจปริโยสาน : ค. มีหนังเป็นที่สุด
  32. ตจสาร : (ปุ.) ต้นไม้มีเปลือกเป็นแก่น, ต้นไม้ มีเปลือกแข็ง, ต้นไผ่, ไม้ไผ่. วิ. ตโจ ว ตจโต อุพฺภวา สญฺชาตา จตุพฺภวา.
  33. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  34. ตณฺหกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นแห่งตัณหา ( หาย อยาก ) ความสิ้นไปแห่งตัณหา, ธรรม เป็นที่สิ้นไปแห่งตัณหา, ตัณหักขยะ ชื่อ ของพระนิพพาน, พระนิพพาน.
  35. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  36. ตณฺหาทาส : ค. อันเป็นทาสของตัณหา
  37. ตณฺหาทุติย : (วิ.) มีตัณหาเป็นที่สอง, มีตัณหา เป็นเพื่อน.
  38. ตณฺหาธิปเตยฺย : ค. เป็นใหญ่เหนือตัณหา
  39. ตณฺหาปจฺจย : ต. มีตัณหาเป็นปัจจัย, มีตัณหาเป็นเหตุ
  40. ตณฺหามูลก : ค. เป็นรากเง่าแห่งตัณหา
  41. ตณฺหาวตฺถุก : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งตัณหา.
  42. ตโตนิทาน : (วิ.) มีทุกข์นั้นเป็นเหตุเครื่องมอบ ให้ซึ่งผล, มีการทำนั้นเป็นแดนมอบให้ซึ่ง ผล.
  43. ตโตนิทาน : ก. วิ. มีสิ่งนั้นเป็นเหตุ, เนื่องด้วยสิ่งนั้น
  44. ตถตา : อิต. ความเป็นจริง, ความเป็นแท้, ความเป็นเช่นนั้น, ความเป็นเหมือนอย่างนั้น
  45. ตถปรกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปสู่ความเป็นจริง
  46. ตถภาว : (ปุ.) ความที่แห่งสัจจธรรมนั้นเป็น ธรรมแท้, ความเป็นแห่งธรรมแท้, ความจริง, ความแท้.
  47. ตถาภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนั้น, ฯลฯ.
  48. ตถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างนั้น, ฯลฯ, มีอย่างนั้น เป็นรูป, ฯลฯ.
  49. ตถูปม : ค. มีอุปมาเช่นนั้น, มีอย่างนั้นเป็นเครื่องเปรียบ, เหมือนอย่างนั้น
  50. ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | [1901-1950] | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350

(0.1285 sec)