Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นลำดับ, ลำดับ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นลำดับ, ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นลำดับ, 4351 found, display 2101-2150
  1. ทาสพฺย, - สวฺย : นป. ความเป็นทาส
  2. ทาสโวฺยปค : (ปุ.) ทาสที่ยอมตัวเป็นทาสเอง วิ. ภยนิวารณาทฺยตฺถํ ทาสภาว มุปคโต ทาสโวฺยปคโต.
  3. ทาสโวฺยปคต : ค. ผู้เข้าถึงความเป็นทาส, ผู้ยอมตัวเป็นทาสเอง
  4. ทาสิตฺต : นป. ความเป็นนางทาสี, สภาพของทาสหญิง
  5. ทาฬิทฺทิย ทาลิทฺทิย : (นปุ.) ความเป็น แห่งคนจน, ฯลฯ. วิ. ทฬิทฺทสฺส ภาโว ทา ฬิทฺทิยํ. ณิย ปัจ. ภาวตัท.
  6. ทิคนฺต : (ปุ. นปุ.) ที่สุดแห่งทิศ,ขอบฟ้า.ทิสา+อนฺตแปลงสเป็นค.
  7. ทิชาธิป : (ปุ.) สัตว์ผู้เป็นใหญ่กว่านก, ครุฑ.
  8. ทิฎฺฐมตตก : (ปุ.) เพื่อนเห็น (เห็นกันครั้ง แรก ก็เป็นเพื่อนกัน) วิ. ทสฺสนํ ทิฎฺฐํ, ตํ มตฺตํ ปมาณ เมตสฺสาติ ทิฎฺฐมตฺตโก. ก สกัด.
  9. ทิฏฺฐธมฺม : (ปุ.) สิ่งอันตนเห็นแล้ว, สิ่งอัน...เห็นแล้ว, ทิฏฐธรรม. คำ ทิฏฐธรรม มีความหมายดังนี้ ความเป็นไปในปัจจุบัน, โลกนี้, ภพนี้, ชาตินี้, ปัจจุบัน; ปัจจุบัน ชาติ, ปัจจุบันภพ. วิ. ทิฏฺโฐ ธมฺโม ทิฏฺฐธมฺโม. ทิฏฺฐธมฺโม นาม ปจฺจกฺข- อตฺตภาโว.
  10. ทิฏฺฐธมฺมิก : (วิ.) อันเป็นไปในปัจจุบัน, อันเป็นไปในทิฏฐธรรม (ทันตาเห็น). วิ. ทิฏฺฐธมฺเม ปวตฺตํ ทิฏฺฐธมฺมิกํ. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท.
  11. ทิฏฺฐมงฺคลิก : ค. ผู้ถือว่าสิ่งที่เห็นเป็นมงคล
  12. ทิฏฺฐวิปตฺติ : (อิต.) ความคลาดเคลื่อนโดยความเห็น, ความคลาดเคลื่อนด้วยความเห็น, วิบัติเพราะความเห็น, ทิฏฐิวิบัติ (เห็นผิดจากความเป็นจริง).
  13. ทิฏฺฐานุคติ : (อิต.) อันเป็นไปตามซึ่งความยินดี, ฯลฯ, อันเป็นไปตามซึ่งความเห็น, อันเป็นไปตามซึ่งทิฎฐิ, ความดูเยี่ยงด้วยสามารถแห่งทิฎฐิ, ความดำเนินตามซึ่ง สิ่งอันปรากฏ, แบบอย่าง.
  14. ทิฏฺฐิฏฺฐาน : นป. ฐานเป็นที่ตั้งแห่งทิฐิ
  15. ทิฏฺฐิวิสูก : นป. ทิฐิอันเป็นข้าศึก, ลัทธิตรงข้าม, ความเห็นผิด
  16. ทิปทินฺท : ป. พระผู้เป็นจอมแห่งสัตว์สองเท้า, พระพุทธเจ้า
  17. ทิพฺจกฺขุ : (นปุ.) จักขุอันเป็นทิพย์, ตาทิพย์, ทิพจักษุ, ทิพยจักษุ. ส. ทิวฺยจกฺษุ.
  18. ทิพฺพกาม : ป. สิ่งที่น่าปรารถนาอันเป็นทิพย์, ความสุขอย่างสวรรค์
  19. ทิพฺพปณฺณาการ : ป. เครื่องบรรณาการอันเป็นทิพย์
  20. ทิพฺพภาว : ป. ภาวะที่เป็นทิพย์, ความเป็นของทิพย์
  21. ทิพฺพภูสา : (อิต.) ผ้าอันเป็นทิพย์, ผ้าทิพ, ผ้า ทิพย์, ผ้าทพ ผ้าทิพย์ ชื่อผ้าที่ห้อยตรง หน้าฐานพระพุทธรูป ทำเป็นลายผ้า เมื่อปั้นหุ่นฐานพระพุทธรูป เมื่อเทวัตถุอะไรลงไปตามที่ต้องการก็สำเร็จเป็นผ้าทิพย์พร้อมกับฐานนั้น. อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของพระราชอาสน์พนักพลับพลา.
  22. ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
  23. ทิพฺพวิหาร : ป. ธรรมเครื่องอยู่อันเป็นทิพย์, ภาวะจิตที่ยิ่ง
  24. ทิพฺพวิหาราทิ : (วิ.) (การอยู่) มีการอยู่ของเทวดาเป็นต้น, (ธรรมเป็นเครื่องอยู่) มี การอยู่อันเป็นทิพย์เป็นต้น.
  25. ทิพฺพสมฺปตฺติ : อิต. ทิพยสมบัติ, สมบัติอันเป็นทิพย์, สมบัติของเทวดา, ความสุขในสวรรค์
  26. ทิยฑฺฒสหสฺสปริจาริกา : (อิต.) นางบำเรอมี พันที่สองทั้งกึ่งเป็นประมาณ, นางบำเรอหนึ่งพันห้าร้อยนาง.
  27. ทิวาฎฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่อยู่ในเวลากลางวัน.
  28. ทิวิ : (วิ.) อันเป็นทิพ, อันเป็นทิพย์.
  29. ทิวิภว : ค. ซึ่งมีในสวรรค์, เป็นอย่างสิ่งที่มีอยู่ในสวรรค์
  30. ทิวิภาว : ป. ความเป็นสิ่งมีในสวรรค์, ความเป็นของทิพย์, ความเป็นเทวดา
  31. ทิโวก : (ปุ.) ทิโวกะ ชื่อของเทวดา, เทวดา (มี เทวโลกเป็นที่อยู่). อภิฯ วิ. ทิโว โอโก เคหํเยสํ เต ทิโวกา. ฎีกาอภิฯ วิ. ทิโว เทวโลโก โอโก อาสโย เยสํ เต ทิโวกา.
  32. ทิสตา : อิต. ทิศ, ทิศทาง, เขต, ภาค, ส่วนแห่งโลก; ความเป็นข้าศึก, ความเป็นโจร
  33. ทิสานาถ : (ปุ.) เทวดาผู้เป็นที่พึ่งในทิศ, พระอินทร์.
  34. ทิสาปาโมกข : (ปุ.) อาจารย์ผู้เป็นหัวหน้าใน ทิศท., อาจารย์ผู้เป็นประธานในทิศ ท., ทิศาปาโมกข์ (อาจารย์ผู้มีเสียงโด่งดัง).
  35. ทิสาปาโมกฺข : ค. (อาจารย์) ผู้เป็นใหญ่ในทิศ, ผู้มีชื่อเสียงโด่งดังทั่วทุกทิศ
  36. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  37. ทีฆโสตฺติย : (นปุ.) ความเป็นคนแห่งคนผู้ประ พฤติช้า, ความเป็นคนประพฤติช้า, ฯลฯ, ณีย ปัจ. ภาวตัท.
  38. ทีฆายุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้มีอายุยืน, ฯลฯ, ความเป็นคนมีอายุยืน.
  39. ทีนตา : อิต., ทีนตฺต นป. ความเป็นคนจน, เข็ญใจ, มีทุกข์, เลว, ทราม, ต่ำช้า
  40. ทีป : (ปุ. นปุ.) เกาะชื่อของแผ่นดินที่มีน้ำล้อมรอบและเล็กกว่าแผ่นดินที่เป็นทวีป.วิ.ทฺวิชาคตานิอาปานิอสฺมึเหตุภูเตติทีโป.แปลงทฺวิเป็นทิหรือลบวฺเหลือเป็นทิทีฆะเป็นทีลบอาและนที่อาปานรัสสะอาที่ปาอภิฯและฎีกาอภิฯ.ส.ทวีป.
  41. ทีปงฺกร : (วิ.) ผู้ทำซึ่งที่พึ่ง วิ. ทีปํ กโรตีติ ทีปงฺกโร. ทีปปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, อ. ลง นุ อาคมในท่ามกลาง แล้วแปลงเป็นนิคคหิต แล้วแปลงนิคคหิตเป็น งฺ รูปฯ ๕๔๙.
  42. ทุกฺกรตา : อิต., ทุกฺกรตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทำได้ยาก
  43. ทุกฺขกฺขย : ป. ความสิ้นไปแห่งทุกข์, ธรรมเป็นที่สิ้นไปแห่งทุกข์, พระนิพพาน
  44. ทุกฺขตา : อิต., ทุกฺขตฺต นป. ความเป็นสิ่งที่ทนได้ยาก, ความเป็นทุกข์, ความเป็นสิ่งที่นำมาซึ่งทุกข์
  45. ทุกฺขติ : ก. เป็นทุกข์, ลำบาก
  46. ทุกฺขธมฺม : ป. ภาวะที่มีความทุกข์เป็นธรรมดา, ความทุกข์
  47. ทุกฺขปริชานนาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจมีอัน กำหนดรู้ซึ่งทุกข์เป็นต้น. เป็นวิเสสนบุพ. กัม. มี ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นภายใน.
  48. ทุกฺขภุมฺมิ, - ภูมิ : อิต. ทุกขภูมิ, ภูมิจิตอันเป็นที่เกิดแห่งทุกข์
  49. ทุกฺขวิปาก : ค. มีวิบากเป็นทุกข์, มีทุกข์เป็นผล
  50. ทุกฺขเวทนา : (อิต.) ความเสวยอารมณ์อันเป็น ทุกข์, ความรู้สึกลำบาก, ไทยใช้ทุกขเวทนาในความว่ารู้สึกลำบาก รู้สึกเจ็บปวด.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | [2101-2150] | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350

(0.1467 sec)