Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นลำดับ, ลำดับ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นลำดับ, ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นลำดับ, 4351 found, display 2701-2750
  1. พฺรหฺมโลก : (ปุ.) โลกเป็นที่อยู่ของพรหม, พรหมโลก.
  2. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  3. พฺราหฺมญฺญตา : อิต. ความเป็นพราหมณ์
  4. พฺราหฺมณ : ๑. ป. พราหมณ์, วรรณะหนึ่งใน ๔ ของอินเดีย ; ๒. นป. คุณสมบัติที่ทำให้เป็นพราหมณ์หรือผู้ประเสริฐ
  5. พฺราหฺมณวฑฺฒกี : ป. ช่างไม้พราหมณ์, พราหมณ์ผู้เป็นช่างไม้
  6. พฺราหฺมณวาณิช : ป. พราหมณ์ผู้เป็นพ่อค้า
  7. พลจกฺก : ๑. นป. พลจักร์, ความเป็นไปหรือแผ่ไปแห่งอำนาจ; ๒. ค. ซึ่งมีอำนาจสูงสุด, มีอำนาจในการปกครอง
  8. พลเทว : ป. พลเทพ, เป็นชื่อของบุตรคนที่สองของนางเทวคัพภาและอุปราชชื่อสาคร
  9. พลฺย : นป. ความเป็นผู้มีกำลัง, ความแข็งแรง; ความโง่เขลา
  10. พลวีร : ป. ผู้มีกำลังยิ่ง, ผู้มีกำลังมาก, ผู้เป็นเยี่ยมในทางมีกำลัง
  11. พลาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, พลาธิการชื่อกรมๆ หนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมจัดหา ที่พัก เสบียงอาหาร ฯลฯ ในกองทัพ ถ้าระดับต่ำกว่ากองทัพ ก็เป็นชื่อของ กอง และเป็นชื่อของผู้ทำหน้าที่ในกรมกองนั้น.
  12. พหิทฺธารมฺมณ : (นปุ.) อารมณ์เป็นภายนอก.
  13. พหุการตฺต : นป. ความมีการกระทำมาก; ความเป็นผู้มีอุปการะมาก
  14. พหุภาณิตา : อิต. ความเป็นผู้พูดมาก
  15. พหุลฺลาชีว : (วิ.) เป็นอยู่ฟุ่มเฟือย, เป็นอยู่อยางฟุ่มเฟือย.
  16. พหุลาชีว : ค. มีความเป็นอยู่อย่างหรูหราฟุ่มเฟือย
  17. พหุลีกต : (วิ.) อัน...กระทำแล้วให้เป็นไปมาก, กระทำให้มากแล้ว, กระทำแล้วๆ เล่าๆ, กระทำเนืองๆ, กระทำให้มาก. วิ. พหุลํ กตนฺติ พหุลีกตํ. พหุล+กต อี อาคม รูปฯ ๓๒๘. คำอธิบายความหมาย พหุลีกต ดู ไตรฯ๓๑ ข้อ ๕๓๖.
  18. พหุลีกรณ, พหุลีกมฺม : นป. การกระทำมาก, การกระทำอันเป็นไปติดต่อ
  19. พหุสจฺจ : นป. ความเป็นผู้มีการศึกษามาก, ความเป็นผู้คงแก่เรียน
  20. พาธกตฺต : นป. ความเป็นแห่งผู้เบียดเบียน
  21. พาลตฺต : (นปุ.) ความเป็นเด็ก, ฯลฯ.
  22. พาลตา : (อิต.) ความเป็นเด็ก, ฯลฯ.
  23. พาหน : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องนำไป, ยาน. ดู วาหน ด้วย.
  24. พาหิรตฺต : นป. ความมีในภายนอก, ความเป็นแห่งบุคคลภายนอก
  25. พาหุชญฺญ : ค. อันเป็นของชนหมู่มาก, มีชนมาก
  26. พาหุลฺย, พาหุลฺล : นป. ความอุดมสมบูรณ์, การเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  27. พาหุลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มักมาก, ความเป็นผู้มักมาก. พหุล+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  28. พินฺทุสาร : ป. ชื่อพระราชาแห่งประเทศอินเดียองค์หนึ่งผู้เป็นพระชนกของพระเจ้าอโศกมหาราช
  29. พิมฺพิชาล : นป. ไม้มะกล่ำหลวง, ไม้มะกล่ำเครือเป็นที่ตรัสรู้ของพระพุทธเจ้านามว่า “ธัมมทัสสี”
  30. พิลงฺคทุติย : (วิ.) มีน้ำส้มเป็นทีสอง, มีน้ำส้มเป็นกับ.
  31. พีชคาม : (ปุ.) พันธุ์ไม้, พีชคาม ชื่อของผักที่เกิดแต่เมล็ด เช่น แมงลัก พืชพันธุ์ที่ถูกพรากจากที่แล้วยังไม่ตายยังจะเป็นได้อีก.
  32. พีภจฺฉ : (วิ.) น่าเกลียด, น่ากลัว, เป็นแดนกลัว, อันพึงกลัว.
  33. พีภจฺฉทสฺสน : นป. การเห็นแจ้ง, การเห็นเป็นสิ่งน่าสยดสยองหรือน่ากลัว
  34. พุทฺธกร, พุทฺธการก : ค. (ธรรม) ที่ทำให้เป็นพระพุทธเจ้า
  35. พุทฺธการกธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมอันทำความเป็นพุทธะ, พุทธการกธรรม คือ บารมี ๑๐.
  36. พุทฺธคต : ค. (สติ) ที่เป็นไปในพระพุทธเจ้า, ที่น้อมไปในพระพุทธเจ้า
  37. พุทฺธคาถา : อิต. พระดำรัสของพระพุทธเจ้าที่เป็นคำกวี
  38. พุทฺธงฺกุร : ป. หน่อเนื้อแห่งพุทธะ, ผู้ซึ่งจะเป็นพระพุทธเจ้าในกาลภายภาคหน้า
  39. พุทฺธงกุร พุทฺธางฺกุร : (ปุ.) หน่อของพุทธะ, หน่อของ พระพุทธเจ้า, พุทธังกูร พุทธารกูร ผู้ที่จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้าในภายภาคหน้า.
  40. พุทฺธตา : อิต. ความเป็นพระพุทธเจ้า, ความเป็นแห่งผู้รู้
  41. พุทฺธปญฺญตฺติ : อิต. บัญญัติของพระพุทธเจ้า, ข้อกำหนดทางพระวินัย ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงวางไว้เป็นสิกขาบท
  42. พุทฺธปฺปาท พุทฺธุปฺปาทกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่บังเกิดแห่งพระพุทธเจ้า, เวลาที่พระพุทธเจ้าเกิดขึ้นในโลก (โลกยุคมีพระพุทธเจ้า).
  43. พุทฺธปมุข : (วิ.) มีพระพุทธเจ้าเป็นหัวหน้าโดยความเป็นประธาน, มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข.
  44. พุทฺธภูมิ : อิต. พุทธภูมิ, ขั้นแห่งความเป็นพระพุทธเจ้า
  45. พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
  46. พุทฺธวสฺส : (ปุ. นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  47. พุทฺธสก : (นปุ.) ปีของพระพุทธเจ้า. นับตั้งแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานมาครบ ๑๒ เดือน ครั้ง ๑ เป็นพุทธพรรษ พุทธสก ๑ ในสันสกฤต ได้รูปเป็น พุทธศักราช จึงใช้อักษรย่อปีซึ่งนับแต่พระพุทธเจ้าปรินิพพานว่า พ.ศ.
  48. พุทฺธานุสฺสติ : อิต. สติอันเป็นไปในพระคุณของพระพุทธเจ้า, การระลึกถึงพระคุณของพระพุทธเจ้า
  49. พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
  50. พุทฺธารมฺมณ, พุทฺธาลมฺพน : ค. มีพระพุทธเจ้าเป็นอารมณ์
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | [2701-2750] | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350

(0.1377 sec)