Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นลำดับ, ลำดับ, เป็น , then ปน, เป็น, เป็นลำดับ, ลำดับ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นลำดับ, 4351 found, display 3451-3500
  1. อตปฺป : (ปุ.) อตัปปะ (ไม่เดือดร้อน)ชื่อรูปพรมชั้นที่ ๑๓ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของอตัปปพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่มีความเดือดร้อนใจ.วิ. น ตปฺปนฺตีติอตปฺปา.
  2. อตฺยปฺป : (วิ.) น้อยเกิน, น้อยยิ่ง.อติ+อปฺปแปลงอิเป็นย.
  3. อตฺริจฺฉ : (วิ.) ผู้ปราถนาในอารมณ์นั้น.อตฺรปุพฺโพ, อิสุอิจฺฉายํ, อ.แปลงสเป็นจฺฉ.
  4. อติขิณ : (วิ.) คม, แหลม, เฉียบแหลม.อติปุพฺโพ, ขิ คติยํ. นา ปัจ.ประจำธาตุอปัจ.แปลงนเป็นณ.
  5. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  6. อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
  7. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  8. อติโธนจารี : ค. ผู้ไม่รู้จักประมาณ, ผู้เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  9. อติปณฺฑิต : ค. ฉลาดมาก, เป็นบัณฑิตยิ่ง
  10. อติปณฺฑิตตา : อิต. ความฉลาดยิ่ง, ความเป็นบัณฑิตยิ่ง
  11. อติปติ : (วิ.) ผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่.
  12. อติปีณิต : ค. อันเป็นที่เต็มใจยิ่ง
  13. อติพฺรหฺมา : ป. ท้าวมหาพรหม, พระพรหม, ผู้เป็นใหญ่ยิ่ง
  14. อติมโนรม : ค. เป็นที่น่ารื่นรมย์ยิ่ง
  15. อติริจฺจติ : ก. เหลืออยู่, คงอยู่, เป็นเดน (อาหาร)
  16. อติเรกตร : (วิ.) มากกว่า, ยิ่งกว่า, ลาภเกินกว่ากำหนด, อติเรกลาภ คือของที่ได้มามากกว่าที่กำหนดไว้ได้มาเกินจากรายได้ปกติของที่ได้มาเป็นครั้งคราว.ส.อติเรกลาภ.
  17. อติวตฺต : ค. เป็นไปล่วง, ครอบงำ
  18. อติวตฺตติ : ก. เป็นไปล่วง, ครอบงำ
  19. อติวตฺตน : นป. ความเป็นไปล่วง, ความครอบงำ
  20. อติวตฺเตติ : ก. ให้เป็นไปล่วง, ให้ครอบงำ
  21. อติเวลา : (อิต.) เวลาอันเป็นไปล่วงซึ่งเวลา, เวลายิ่ง, เวลาเกิน.วิ.เวลํอติกฺกมิตฺวาปวตฺตนาเวลาอติเวลา.
  22. อติอีส : (ปุ.) คนผู้เป็นเจ้าเป็นใหญ่, อดิศร.ส.อติ+อีศร.
  23. อตีต : (ปุ.) กาลอันเป็นไปล่วงแล้ว, อดีตกาลอติปุพฺโพ, อิ คมเน, โต. วิ. อตีโต กาโลอตีโต.ลบกาล.
  24. อตีตกาล : (ปุ.) กาลอันเป็นไปล่วงแล้ว, อดีตกาล.
  25. อตีตรมฺมณ : ๑. นป. อดีตารมณ์, อารมณ์ที่เป็นอดีต; ๒. ค. จิตที่ยึดเอาอารมณ์ที่ล่วงไปแล้วมาเป็นอารมณ์
  26. อถ, อโถ : อ. ครั้งนั้น, ลำดับนั้น, ต่อไป, เช่นกัน
  27. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  28. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  29. อทฺธคู : (วิ.) ผู้เดินทาง, ผู้เดินทางไกล, ผู้ท่องเที่ยว, ผู้เดินทางไกลเป็นปกติ, ผู้เดินทางไกลโดยปกติ.อทฺธปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, รู.
  30. อทฺธนิย : (วิ.) เป็นไปสิ้นกาลนาน.อทฺธ+นิย ปัจ
  31. อทฺธภูต : (วิ.) เป็นเฉพาะแล้ว, เป็นยิ่งแล้ว.อธิ+ภู ธาตุตปัจ.ภู ธาตุอยู่หนปลายแปลงอธิเป็นอทฺธ.
  32. อทน : (นปุ.) สถานที่ให้อาหาร, สถานที่รับอาหาร. อาปุพฺโพ, ทา ทาเน, ยุ. รัสสะ อาเป็น อ. ส. อทฺน.
  33. อทาส : (วิ.) มิใช่ทาส, ไทย (เป็นอิสระไม่เป็นทาส).
  34. อทิติ : (อิต.) อทิติ ชื่อเทพธิดาผู้เป็นมารดาของเทวดา.
  35. อทุกฺขมสุข : นป. ความไม่ทุกข์ไม่สุข, ความเป็นกลางๆ, อุเบกขา
  36. อทุติย : (วิ.) ไม่เป็นที่๒, เป็นที่๑, เป็นเอก.
  37. อเทฺวชฺฌ : ค. ไม่เป็นสอง, ไม่สงสัย
  38. อเทฺวชฺฌตา : ค.ความไม่เป็นสอง,ความไม่สงสัย
  39. อธม : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในส่วนเบื้องต่ำ, น่าชัง, ถ่อย, บกพร่อง, ชั่ว, เลว, ทราม, ต่ำช้า, ต่ำทราม, หย่อน. อธัม. วิ. อโธภาเค ชาโตอธโม. อิม ปัจ. ชาตาทิตัท. เอาโอ ที่อโธเป็น อ ลบ ภาค และ อิ ที่อิม ปัจ.โอสฺสอตฺตํ, ภาคโลโป, อิมปฺปจฺจเยอิโลโปจ.
  40. อธมฺมจริยา : (อิต.) ความประพฤติมิใช่ธรรม, ความประพฤติไม่เป็นธรรม, ความไม่ประพฤติธรรม, ความประพฤติผิด.
  41. อธมฺมวาที : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าวซึ่งคำไม่ถูกต้อง, ผู้มีปกติกล่าวไม่เที่ยงตรง, ผู้พูดไม่เป็นธรรม
  42. อธฺยาปน : (นปุ.) การเล่าเรียน, อธิปุพฺโพ, อาปฺพยฺาปเน, ยุ.แปลงอิเป็นย.
  43. อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
  44. อธิกรณฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตัดสินคดี, ศาล.
  45. อธิกรณฏฺฐาน : (นปุ.) ที่เป็นที่ตัดสินคดี, ศาล.
  46. อธิกรณสมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังอธิกรณ์ให้ระงับ, ธรรมเป็นเครื่องระงับอธิกรณ์, ธรรมสำหรับระงับอธิกรณ์, วิธีการสำหรับระงับอธิกรณ์.
  47. อธิการ : (ปุ.) คุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง, คุณวิ-เศษเครื่องทำยิ่ง. ภาระ, หน้าที่, การปกครอง, การบังคับบัญชา, เรียกเจ้าอาวาสซึ่งมิได้เป็นเจ้าคณะว่าพระอธิการเรียก ผู้อำนวยการวิทยาลัยว่าอธิการถ้าเป็นมหาวิทยาลัยเรียกว่าอธิการบดี.ส. อธิการ.
  48. อธิการปกติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในหน้าที่, บุคคลผู้เป็นใหญ่ในการปกครอง, อธิการบดี(ผู้เป็นใหญ่ในการปกครองมหาวิทยาลัย).
  49. อธิกุสล : ค. อันเป็นกุศลยิ่ง, ดียิ่ง
  50. อธิจิตฺต : (นปุ.) ธรรมชาติอันอาศัยซึ่งจิตเป็นไป(จิตฺตสฺส อธิกจฺจ ปวตฺตนํ), จิตยิ่ง, อธิกจิตหมายถึงจิตที่ได้สมาธิถึงขั้นฌาน.วิ.อธิกํจิตฺตํอธิจิตตํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | [3451-3500] | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350

(0.1526 sec)