Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างมั่นใจ, มั่นใจ, อย่าง , then มนจ, มั่นใจ, อยาง, อย่าง, อยางมนจ, อย่างมั่นใจ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างมั่นใจ, 436 found, display 301-350
  1. สาลินี : (ปุ.) สาลินี ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง.
  2. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  3. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  4. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  5. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  6. สีหนาท : (ปุ.) อันบันลือเพียงดังว่าอันบันลือแห่งราชสีห์, การบันลือเพียงดังว่าการบันลือแห่งราชสีห์, การเปล่งเสียงองอาจ, การพูดอย่างองอาจ.
  7. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  8. สุเสน : (ปุ.) เล็บเหยี่ยวชื่อพรรณไม้อย่างหนึ่งมี ๒ ชนิด. วิ. สุฎฺฐุ สิโนตีติ สุเสโน. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สิ พนฺธเน, ยุ.
  9. เสตมฺพ : (ปุ.) มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน, มะม่วงหวาน. วิ. เสตวณโณ อมฺโพ เสตวณฺโณ. มะม่วงป่า สวายสอ ก็แปล.
  10. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  11. หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
  12. หิริเวร : (นปุ.) เครือเขาหญ้านาง, เครือเถาหญ้านาง, เครือหญ้านาง, เถาหญ้านางชื่อเครือเถาสมุนไพรอย่างหนึ่ง. วิ. หิรินามิกาย เทวธีตาย สรีรโต สญฺชาตตฺตา หิริเวรํ.
  13. เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
  14. อกฺขณาเวธี : ป. นายขมังธนูผู้มีความชำนาญในการยิงศรอย่างสายฟ้าแลบ
  15. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  16. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  17. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  18. อจฺเจกจีวร : (นปุ.) ผ้ารีบร้อน, ผ้ารีบด่วน, อัจเจกจีวร คือ ผ้าจำนำพรรษานั่นเองแต่ทายกทายิการีบถวายเพราะมีเหตุจำเป็นต้องไปในกองทัพหรือเจ็บไข้ หญิงมีครรภ์ไม่มั่นใจในชีวิตมีพระพุทธานุญาตให้ภิกษุรับได้ก่อนออกพรรษา ๑๐วัน รับแล้วเก็บไว้ได้ตลอดกาลจีวร ไตร. ๒/๑๖๒.
  19. อชฺฌาชีว : ป. ความเป็นอยู่อย่างเข้มงวด, วิถีชีวิต
  20. อชปาลก : (นปุ.) โกฐชื่อเครื่องสมุนไพรอย่างหนื่ง มีหลายชนิด.วิ.อตฺตโน ฉายูปคเตอเชปาเลตีติอชปาลกํ. อชปุพฺโพปาลฺรกฺขเณ, ณฺวุ.
  21. อญฺชน : (ปุ.) พระเจ้าอัญชนะ พระนามพระเจ้าตาของพระพุทธเจ้า, ต้นอัญชัน มี๒ชนิด คือ เป็นไม้แก่นอย่าง ๑ เป็นไม้เถาอย่าง ๑.
  22. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  23. อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
  24. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  25. อญฺญถต : นป. ความเปลี่ยนแปลง, การเป็นอย่างอื่น, ความแตกต่าง
  26. อญญถตฺต : (นปุ.) ความเป็นโดยประการอื่น, ความเป็นอย่างอื่น.
  27. อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
  28. อฎฺปาน : (นปุ.) น้ำดื่มแปดอย่าง, น้ำสำหรับดื่มแปดอย่าง, เครื่องดื่มแปดอย่าง.
  29. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  30. อติโธนจารี : ค. ผู้ไม่รู้จักประมาณ, ผู้เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  31. อติวิย : (อัพ. อุปสรรค) เกินเปรียบ, เหลือเกินอย่างยิ่ง.
  32. อตีว : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง, ดียิ่ง, ยิ่งนัก, เหลือเกิน, อย่างยิ่ง.
  33. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  34. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  35. อถวา : (อัพ. นิบาต) อีกอย่างหนึ่ง, อีกนัยหนึ่ง, หรือว่า.
  36. อธิปญฺญา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็นไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา.ชื่อของปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาดได้แก่มัคคปัญญา.
  37. อธิปญฺา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็น ไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญ ญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา. ชื่อของ ปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่ มัคคปัญญา.
  38. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  39. อธิสีล : (นปุ.) คุณชาตอันอาศัยซึ่งศีลเป็นไป, คุณชาตอันเป็นไปอาศัยซึ่งศีล, (สีลสฺสอธิ-กิจฺจปวตฺตนํ)ศีลยิ่ง, ศีลอย่างสูงคือการรักษาอย่างประณีต.วิ.อธิกํสีลํอธิสีลํ.ส.อธิศีล.
  40. อโธคม : (ปุ.) อโธคมะชื่อลมในกายอย่างหนึ่งในหกอย่างคือลมพัดลงเบื้องต่ำ.วิ.อุจฺจารปสฺสาวาทีนํนีหรณวเสนอโธภาคํคจฺฉตีติอโธคโม.
  41. อนฺธพาล : (ปุ.) คนโง่, คนโง่ทึบ, คนโง่เพียงดังคนตาบอด, คนโง่อย่างตาบอด, คนปัญญาโง่ทึบ, คนอันธพาล, อันธพาล (คนเกะกะระราน).
  42. อนวรต : ก. วิ. อย่างมั่นคง, เนืองๆ
  43. อนวเสส : ก. วิ. อย่างไม่มีเหลือ
  44. อนุกรณ : (วิ.) ทำตาม, เอาอย่าง, เลียน(เอาอย่าง).
  45. อนุกโรติ : ก. ทำตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  46. อนุการี : ค. ผู้เลียนแบบ, ผู้เอาอย่าง
  47. อนุกุพฺพนฺต : กิต. ทำตาม, เอาอย่าง
  48. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  49. อนุตฺตรสมฺมาสมฺโพธิญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง, ญาณเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง.
  50. อนุตฺตริย : (วิ.) ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, อนุตฺตร ศัพท์อิยปัจ.สกัด?
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-436

(0.0301 sec)