Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 3201-3250
  1. สาธารณ : (วิ.) สามัญ, ทั่วไป. วิ. สมํ อาธาริยนฺติ ตสฺมินฺติ สาธารณํ. สมสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ธารฺ ธารเณ, ยุ. สห ธารเณน วตฺตตีติ วา สาธารณํ (เป็นไปกับด้วยการทรงไว้). สาธารณ์ ไทยใช้เป็นเสสน์ในความว่า ต่ำ, เลว ด้วย. ส. สามานฺย.
  2. สาธารณูปโภค : (ปุ.) เครื่องใช้สอยทั่วไป, เครื่องใช้สอยอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป. สาธารณ+ชน+อตฺถ+อุปโภค. ลบ ชน และ อตฺถ. สาธารณูปโภค (การประกอบกิจการอันเป็นประโยชน์แก่ชนทั่วไป).
  3. สาธุ : (วิ.) ยังประโยชน์ให้สำเร็จ, เป็นความดี, เป็นที่ชอบใจ, งามดี, อันดี, ดีนัก, ถูกต้อง, เหมาะ, ควร, สมควร, ชอบ, ประเสริฐ, เลิศ, สาธร. ส. สาธุ.
  4. สาธุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ความดี, ความใคร่ความดี.
  5. สาธุกิฬน : นป. การเล่นเป็นบุญกุศล, การฉลองพิธีอันศักดิ์สิทธิ์
  6. สาธุชน : (ปุ.) คนดี, คนที่เป็นสัมมาทิฏฐิ.
  7. สาปเตยฺย : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บุคคลผู้เป็นเจ้าของแห่งทรัพย์(ทรัพย์มรดก), ทรัพย์, สมบัติ. วิ. สสฺส ธนสฺส ปติ สปติ, ตสฺมึ สาธูติ สาปเตยฺยํ. สปติสฺส วา หิตํ สาปเตยฺยํ. เณยฺย ปัจ.
  8. สาเปกฺข : (วิ.) เป็นไปด้วยการมองหา.
  9. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  10. สามญฺญ : (นปุ.) ความเป็นสมณะ, ความเป็นแห่งสมณะ. วิ. สมณสฺส ภาโว สามญฺญํ. ความเกื้อกูลแก่สมณะ. วิ. สมณานํ หิตํ สามญฺญํ. ณฺย ปัจ.
  11. สามญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่สมณะ, ความประพฤติเกื้อกูลแก่สมณะ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เสมอกัน.
  12. สามญฺญผล : (นปุ.) ผลแห่งความเป็นสมณะ, สามัญผล ได้แก่โสดาปัติผล สกทาคามิผล อนาคามิผล อรหัตผล.
  13. สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
  14. สามนฺติ : (วิ.) ใก้ล, เคียง, ใกล้เคียง, ชิต, รอบ ๆ. วิ. สํคตํ อนฺตํ สามนฺตํ. สํคต+อนฺต ลบ คต แปลง นิคคหิตเป็น ม ทีฆะ อ ที่ ส. ส. สามนฺต.
  15. สามฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งของคล้ายกัน, ความเป็นแห่งของเสมอกัน, ความเป็นแห่งของเท่ากัน, ความเป็นแห่งของควร. สม+ณิย ภาวตัท. ความเสมอกัน, ความเท่ากัน,, ความควร. ณฺย ปัจ. สกัด.
  16. สามา : (อิต.) ประยงค์ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ดอกสีเหลืองเป็นช่อมีกลิ่นหอมมาก. สา ตนุกรเณ, โม.
  17. สามิตฺ : (นปุ.) ความเป็นแห่งเจ้าของ, ความเป็นเจ้าของ
  18. สามิ สามี : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่. วิ. สํ ธนํ อสฺส อตฺถีติ สามิ สามี วา. อิปัจ. ศัพท์ต้น รัสสะ.
  19. สามี : (ปุ.) สามี องค์แห่งความเป็นพระราชา ๑ ใน ๗ องค์, พระราชา.
  20. สายณฺหสมย : (ปุ.) กาลเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, สมัยเป็นที่สิ้นไปแห่งวัน, เวลาเย็น, เย็น.
  21. สาร : (วิ.) สูงสุด, อุดม, ยิ่ง, แข็ง, สำคัญ, เป็นหลักฐาน, ที่พึ่ง. สรฺ คติหึสาจินฺตาสุ, โณ.
  22. สารมฺภกถา : (อิต.) ถ้อยคำอันเป็นไปกับความเริ่มแรก.
  23. สาราค : (ปุ.) ความกำหนัดหนัก, ความกำหนัดหนักแล้ว (แล้วเป็นคำเหน็บเข้ามา), ตัณหา. สํ+ราค ลบนิคคหิตแล้วฑีฆะ.
  24. สาราณิย : (วิ.) อัน...พึงระลึก, อันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก.
  25. สาราณิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึก, สาราณิยธรรม(ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความระลึกถึงกันและกัน).
  26. สาลา : (อิต.) เรือน, โรง, สาลา, ศาลา คือ เรือนที่ปลูกไว้ในวัด สำหรับเป็นที่ทำบุญประชุมฟังธรรมและศึกษาเล่าเรียน หรือเป็นที่ทำการของรัฐ เช่น ศาลากลางจังหวัด ศาลากระทรวง เป็นต้น หรือที่ปลูกไว้ริมทางเพื่อเป็นที่พักของคนเดินทาง สลฺ คมเน, อ, อิตฺถิยํ อา.
  27. สาลิ : (ปุ.) ข้าวไม่มีแกลบ, ข้าวสาลี (ข้าวที่เพาะปลูกกันในประเทศหนาว). สาลฺ สิลาฆายํ, อิ. อถวา, เส เขตฺเต ลียติ อลฺลึยตีติ สาลิ, สปุพฺโพ, ลิ สิเลสเน, อิ. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  28. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  29. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  30. สาสนูปถมฺถก : (วิ.) ผู้บำรุงพระศาสนา, ผู้ทะนุบำรุงพระศาสนา, ศาสนูปถัมภก เป็นคุณบทของพระมหากษัตริย์.
  31. สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
  32. สาหสิก : (วิ.) เป็นไปพลัน, ฯลฯ. ส. สาหสิก.
  33. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  34. สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
  35. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  36. สิขณฺฑก : (ปุ.) ผมแหยม, แกละ, ผมแกละ ชื่อผมที่เกล้าไว้เป็นหย่อม ๆ เป็นผมเด็ก. แยกเป็น ๕ หรือ ๓ หย่อม.
  37. สิงฺฆาฎก : (นปุ.) ทางมารวมกัน, ตะแลงแกง (ทางมารวมกัน), ทางสามแยก, ทางสี่แยก, ทางสามแจง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แจง, ทางสามแพร่ง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แพร่ง, ตรอกสามแจง, ตรอกสี่แจง, ฯลฯ, ชุมทางสามแยก, ชุมทางสี่แยก, ฯลฯ. วิ. สึฆติ เอกีภาวํ ยาตีติ สิงฺฆาฎโก. สึฆฺ ฆฎเน, อาฎโก.
  38. สิญฺจ สิญฺจน : (นปุ.) การรด, การราด. สิจุ ปคฺฆรเณ, อ, ยุ. ลงนิคคหิตอาคมประจำหมวดธาตุ.
  39. สิทฺธตฺถ : (ปุ.) สิทธัตถะ (ผู้มีความต้องการอะไรก็สำเร็จ) เป็นพระนามเดิมของพระพุทธเจ้าพระองค์นี้ และใช้เป็นพระนามเมื่อตรัสรู้แล้วด้วย. วิ. สพฺพโส สิทฺธา อตฺถา เอเตน เหตุภเตนาติ สิทฺธตฺโถ.
  40. สินฺธว : (ปุ.) ม้าตัวผู้, ม้าที่มีในสินธูชนบท. วิ. สินฺธุมฺหิ ภโว สินฺธโว. ณ ปัจ. ม้าสินธพนี้แต่ก่อนจัดเป็นม้าพิเศษ.
  41. สิเนรุ : (ปุ.) เขาสิเนรุ, เขาสุเมรุ, เขาพระสุเมรุ. วิ. สินาติ สุจึ กโรติ เทเวติ สิเนรุ. สินา โสเจยฺเย, เอรุ. มคธเป็น สิเนรุ ไทยใช้เป็นสุเมรุ.
  42. สิเนหปภว : (วิ.) มีความรักเป็นแดนเกิดก่อน.
  43. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  44. สิริมา : (อิต.) สิริมา ชื่อหญิงผู้เป็นน้องสาวของหมอชีวกโกมารภัจ.
  45. สิริยสน : (นปุ.) ที่นอนอันเป็นสิริ, ที่บรรทม.
  46. สิว : (วิ.) งาม, ดี, เกษม, สำราญ, สุขสำราญ, เป็นศรีสวัสดิ์, เจริญ, ดีงาม. ส. ศิว.
  47. สิวถิกา : (อิต.) หมาจิ้งจอก ชื่อหมาชนิดหนึ่ง ขนสีน้ำตาลแกมเทา หางยาวเป็นพู่ ชอบหากินในเวลากลางคืน สรฺ หึสายํ, อิโว. อภิฯ ตั้ง สมุ อุปสเม? หมาใน ก็แปล.
  48. สิวิกา : (อิต.) วอ, เสลี่ยง, คานหาม. วิ. สุขตฺถิเกหิ เสวียเตติ สิวิกา. สิ เสวายํ, ณฺวุ, วฺ อาคโม. แปลง อ ที่ ว ซึ่งบวกกับ อ ที่แปลงมาจาก ณฺวุ แล้วเป็น อิ อา อิต. สิวํ กโรตีติ วา สิวิกา. อิก ปัจ. ส. ศิวิกา.
  49. สิสฺสานุสิสฺส : (ปุ.) ศิษย์และศิษย์น้อย, ศิษย์ใหญ่และศิษย์น้อย, ศิษยานุศิษย์, ไทยใช้เป็น ศานุศิษย์ ก็มี.
  50. สิสิร : (วิ.) เย็น, สบาย, เป็นอยู่ดี. สสฺ สุสสเน, อิโร, อสฺสิ. สิสฺ อิจฺฉายํ วา. หนาว ก็แปล. ส. ศิศิร.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | [3201-3250] | 3251-3300 | 3301-3350 | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1446 sec)