Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เป็นประจำ, ประจำ, เป็น , then ปน, ประจำ, เป็น, เป็นประจำ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เป็นประจำ, 4363 found, display 3301-3350
  1. โสตาปตฺติ : (อิต.) การถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, ความถึงซึ่งธรรมอันยังกิเลสให้แห้ง, การถึงซึ่งกระแสเป็นที่ไปสู่พระนิพพาน, การถึงซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่าโสตะ, ความบรรลุซึ่งกระแสแห่งพระนิพพานชื่อว่า โสตะ.
  2. โสตาปตฺติยงฺค : (วิ.) อันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน.
  3. โสตาปตฺติยงฺคธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเป็นองค์แห่งการบรรลุกระแสพระนิพพาน, ธรรมอันเป็นเหตุยังบุคคลผู้ปฏิบัติให้ถึงกระแสแห่งพระนิพพาน. ธรรมอันยังผู้ปฏิบัติให้บรรลุกระแสแห่งพระนิพพาน ได้แก่ วุฑฒิธรรม ๔ ไตร ๑๑.
  4. โสตายตน : (นปุ.) ที่เป็นต่อคือ หู, เครื่องติดต่อคือหู, อายตนะคือหู ประสาทหู (หมายเอาประสาทรับรู้เสียง).
  5. โสภิณี : (อิต.) หญิงงาม. ไทย โสภิณี โสเภณี ใช้ในความว่า หญิงงามเมือง คือหญิงที่หากินในทางประเวณี เป็นศัพท์ที่ตัดมาจากคำ นครโสภิณี.
  6. โสมนสฺสสหคตญาณสมฺปยุตฺตภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งเจตนาอันสหรคตแล้วด้วยโสมนัสและเจตนาอันสัมปยุตแล้วด้วยญาณ.
  7. โสมปม : (วิ.) เป็นไปกับด้วยอุปมา.
  8. โสมฺม : (วิ.) เป็นที่พอใจ, เป็นที่พึงใจ. ส. โสมฺม.
  9. โสรจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีแล้วในธรรมอันงาม, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความเป็นผู้ยินดีในธรรมอันงาม, ความระมัดระวัง, ความไม่ฟุ้งซ่าน, ความไม่คะนอง, ความเรียบร้อย, ความเสงี่ยม. วิ. สุรตสฺส ภาโว. โสรจฺจํ. สุรต+ณฺยปัจ. ภาวตัท.
  10. โสวจสฺสตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้อันบุคคลว่าได้โดยง่าย, ฯลฯ, ความเป็นผู้ว่าง่ายสอนง่าย. โสวจฺสฺส+ตา ปัจ. ภาวตัท. สกัด.
  11. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  12. โสสานิก : (วิ.) ผู้อยู่ในป่าช้า วิ. สุสาเน วสตีติ โสสานิโก. ผู้มีการอยู่ในป่าช้าเป็นปกติ วิ. สุสาเน วสนํ สีลมสฺสาติ โสสานิโก. ผู้มีปกติอยู่ในป่า วิ. สุสาเน วสนสีโล โสสานิโก. ผู้อยู่ในป่าช้าเป็นวัตร. ณิก ปัจ. ตรัตยาทิตัท.
  13. โสสานิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีอันอยู่ในป่าช้าเป็นวัตร, โสสานิกังคะ ชื่อธุรงค์อย่าง ๑ ใน ๑๓ อย่าง ผู้สมาทานธุดงค์นี้ต้องอยู่ในป่าช้า.
  14. โสหิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งความอิ่ม. วิ. สุหิโต ติตฺโต, ตสฺส ภาโว โสหิจฺจํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ความอิ่ม. ณฺย ปัจ. สกัด.
  15. หณน หนน : (นปุ.) การกำจัด, ฯลฯ, การกระทบ, ความกำจัด, ความเบียดเบียน. หนฺ หึสายํ, ยุ. ศัพท์ต้นแปลงที่สุดธาตุเป็น ณ. ส. หนน.
  16. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  17. หตฺถาณึก หตฺถานึก : (นปุ.) หัตถานึก ช้าง ๓ เชือก แต่ละเชือกมีพลประจำ ๑๒ คน ชื่อ หัตถานึก, กองพลช้าง, กองทัพช้าง.
  18. หตฺถินข : (ปุ.) ปราสาทตั้งอยู่บนกระพองช้าง กระพอง คือ ส่วนที่นูนเป็นปุ่มสองข้างที่ศรีษะช้าง กะพอง ตระพอง ตะพอง ก็ว่า. วิ. หตฺถิกุมฺภมฺหิ ปติฎฐโต นโข หตฺถินโข. ปาสาโท เอว นโข.
  19. หตวกาส : (วิ.) มีปัจจัยเป็นเครื่องตั้งลงอันขจัดแล้ว, หมดโอกาส, หมดหนทาง, หมดช่องทาง.
  20. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  21. หรณ : (วิ.) เป็นไป, เป็นอยู่, อยู่, อาศัยอยู่.
  22. หวน : (นปุ.) การเป็นอยู่, ความเป็นอยู่. หู สตฺตายํ, ยุ. การให้, การบูชา, การเซ่นสรวง. หู หพฺยทาเน. ส. หวน.
  23. หา : (อัพ. นิบาต) โอ้, อ้า, เหนื่อย, ลำบาก, เป็นทุกข์, แห้งใจ. เขทัตถวาจกนิบาต.
  24. หานภาคิย : ค. เป็นไปในส่วนที่เสื่อม
  25. หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
  26. หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
  27. หิงฺคุชาติ หิงฺคสิปาฎิกา : (อิต.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
  28. หิงฺคุ หิงฺคุชตุ : (นปุ.) มหาหิงคุ์ ชื่อยางของต้นหิงคุ ใช้เป็นยาสมุนไพร. วิ โรคํ หึสนฺตํ คจฺฉตีติ หิงฺคุ.
  29. หินฺตาล : (ปุ.) ลางลิง ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งชอบขึ้นตามริมแม่น้ำลำคลอง กระไดลิง, บันไดลิง ก็เรียก, เต่ารั้ง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่งคล้ายต้นหมาก ผลเป็นทะลาย เป็นพวง เต่าร้าง หมากต้น ก็เรียก. วิ ปมาณโต ตาลโต หีโน หินฺตาโล. ปทวิปริยาโย, รสฺโส จ.
  30. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  31. หิมวาส หิมเวส : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ที่อยู่อันหนาว, ที่อยู่แห่งหิมะ, ภูเขาหิมพานต์, ป่าหิมพานต์.
  32. หิมาลย : (ปุ.) ประเทศเป็นที่อยู่แห่งหิมะ, ป่าหิมพานต์, หิมาลัย, ภูเขาหิมาลัย.
  33. หิริโกปินปฎิจฺฉาทน : (นปุ.) ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเฉพาะซึ่งอวัยวะอันยังหิริให้กำเริบ, ผ้าปิดของลับ.
  34. หึสาสีล : (วิ.) ผู้มีความเบียดเบียนเป็นปกติ, ฯลฯ. วิ. หึสา สีลํ อสฺส อตฺถีติ หึสาสีโล.
  35. หุตฺวา : กิต. เป็น, เป็นแล้ว
  36. เหฎฺฐาภาค : (ปุ.) ส่วนมีในเบื้องต่ำ, ฯลฯ, ส่วนมีในภาคใต้, ส่วนอันเป็นเบื้องตำ, ฯลฯ, ส่วนอันเป็นภายใต้.
  37. เหตุปจฺจย : (ปุ.) ปัจจัยอันเป็นเหตุ, ปัจจัยที่เป็นเหตุ. วิเสสนบุพ. กัม.
  38. เหตุปฺปภว : (วิ.) มีเหตุเป็นแดนเกิดก่อน.
  39. โหราสตฺถ : (นปุ.) ตำราวิชาโหร, คัมภีร์วิชาโหร, โหราศาสตร์ (ตำราว่าด้วยการพยากรณ์โดยอาศัยดาราศาสตร์เป็นหลัก).
  40. อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์ ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
  41. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  42. อกฺก : (ปุ.) ดวงอาทิตย์, พระอาทิตย์, อจฺจียเตติ อกฺโก (อันเขาบูชา). อจฺจ ปูชายํ, โณ, จฺจสฺส กฺโก.มหาชุติตายอกฺกียติตปฺปสนฺเนหิชเนหีติอกฺโก.อกฺกฺถวเน, อ.ต้นขอนดอก, ต้นรัก, ไม้รักแดง, ลูกขลุบ, เพลารถ.วิ.ตปฺปริยายนามกตฺตาอรตีติอกฺโก.อรฺ คมเน. โก.รสฺส โก(แปลง รฺเป็น ก) ส.อรฺก.
  43. อกฺกุฏฺฐ : (นปุ.) คำด่า. อาปุพฺโพ, กุสฺ อกฺโกเส, โต.แปลงตเป็นฏฺฐลบสฺ รัสสะ อา เป็นอซ้อน กฺก.
  44. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  45. อกฺขณา : (อิต.) สายฟ้า, สายฟ้าแลบ. วิ. นขณมตฺตมฺปิ ติฎฺฐตีติ อกฺขณา. แปลงนเป็น อขเป็นกฺขอาอิต.
  46. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  47. อกฺขรานิ : (วิ.) อัน...ไม่พึงกระทำ. นบทหน้ากรฺ ธาตุ อานิ ปัจ. แปลง กรฺเป็นขรฺ.
  48. อกฺขายี : (วิ.) ผู้มีปกติกล่าว, ฯลฯ.ณีปัจ.แปลงอาเป็นอาย.
  49. อกตปาปกมุม : (วิ.) มิใช่ผู้มีกรรมอันเป็นบาปอันทำแล้ว. นบุพ.กัม. มีวิเสสนุบุพ.กัม. และ ต.ตุล.เป็นท้อง.
  50. อกปฺปิยวตฺถุ : (นปุ.) ของอันไม่สมควร, ของอันเป็นอกัปปิยะคือของที่บรรชิตไม่สมควรบริโภค ไม่สมควรใช้สอย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-650 | 651-700 | 701-750 | 751-800 | 801-850 | 851-900 | 901-950 | 951-1000 | 1001-1050 | 1051-1100 | 1101-1150 | 1151-1200 | 1201-1250 | 1251-1300 | 1301-1350 | 1351-1400 | 1401-1450 | 1451-1500 | 1501-1550 | 1551-1600 | 1601-1650 | 1651-1700 | 1701-1750 | 1751-1800 | 1801-1850 | 1851-1900 | 1901-1950 | 1951-2000 | 2001-2050 | 2051-2100 | 2101-2150 | 2151-2200 | 2201-2250 | 2251-2300 | 2301-2350 | 2351-2400 | 2401-2450 | 2451-2500 | 2501-2550 | 2551-2600 | 2601-2650 | 2651-2700 | 2701-2750 | 2751-2800 | 2801-2850 | 2851-2900 | 2901-2950 | 2951-3000 | 3001-3050 | 3051-3100 | 3101-3150 | 3151-3200 | 3201-3250 | 3251-3300 | [3301-3350] | 3351-3400 | 3401-3450 | 3451-3500 | 3501-3550 | 3551-3600 | 3601-3650 | 3651-3700 | 3701-3750 | 3751-3800 | 3801-3850 | 3851-3900 | 3901-3950 | 3951-4000 | 4001-4050 | 4051-4100 | 4101-4150 | 4151-4200 | 4201-4250 | 4251-4300 | 4301-4350 | 4351-4363

(0.1242 sec)