Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มุ่งหน้า, หน้า, มุ่ง , then มง, มงหนา, มุ่ง, มุ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มุ่งหน้า, 458 found, display 101-150
  1. ทูหร : (วิ.) อัน...นำไปได้โดยยาก, อัน...ลักไป ได้โดยยาก, นำไปยาก ลักไปยาก (ยาก ที่จะนำไป ยากที่จะลักไป) . ทุกฺข+หรฺ+ข ปัจ. ศัพท์ที่มี ทุ นิ อยู่หน้า ถ้าไม่ลง รฺ อาคม มักทีฑะเป็น ทู นี.
  2. โทวาริก : (วิ.) ผู้ประกอบที่ประตู วิ. ทฺวาเร นิยุตฺโต โทวาริโก. ผู้รักษาซึ่งประตู ผู้เฝ้าประตู วิ. ทฺวารํ รกฺขิโค โทวาริโก. ณิก ปัจ. ครัต๎ยาทิตัท. ลง โอ อาคมหน้าศัพท์ รูปฯ ๓๖๐
  3. โทสนฺตร : ค. ผู้มุ่งร้าย, ผู้ประสงค์ร้าย
  4. ธมฺมาภิมุข : (วิ.) มีหน้าเฉพาะธรรม, ผู้มุ่ง แต่ความถูกต้อง, ผู้มุ่งแต่ยุติธรรม. ส. ธรฺมาภิมุข.
  5. นนฺทิมุขี : ค. มีดวงหน้าส่องถึงความยินดีปรีดา, มีหน้าแสดงความร่าเริงแจ่มใส
  6. นฺยาส : ป. วางลง, หย่อนลง, นำไปข้างหน้า
  7. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  8. นลาฏ : ป. หน้าผาก
  9. นลาฏฏฺฐิ : (ปุ.) กระดูกหน้าผาก.
  10. นลาฏนฺต : ป. ขอบหน้าผาก, ริมผม
  11. นลาฏ นลาต : (ปุ.) หน้าผาก. นลฺ คนฺเธ, อาโฏ. ศัพท์หลังแปลง ฏ เป็น ต?.
  12. นลาฏมณฺฑล : นป. บริเวณรอบๆ หน้าผาก
  13. นลาฏิกา : อิต. ทำหน้านิ่วคิ้วขมวด, หน้าบึ้ง, บึ้ง
  14. นเหตุเย : (อัพ. นิบาต) เพื่อไม่ให้มี. นบทหน้า หุ ธาตุ ตุเย ปัจ. แปลง อุ เป็น เอ
  15. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  16. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  17. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  18. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  19. นิฏล : (นปุ.) หน้าผาก. นิ+ฏล. ส. นิฏล นิฏาล.
  20. นิตฺถุนน : (นปุ.) การทอดถอน, การถอนใจ. นิบทหน้า ถุธาตุ นาปัจ. ประจำหมวดธาตุ รัสสะ อา เป็น อ ยุ ปัจ.
  21. นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
  22. นิทฺธารณ : (นปุ.) การนำออกแล้วทรงไว้ วิ. นีหริตฺวา ธารณํ นิทฺธารณํ. ลบบทหน้า เหลือ นี แล้ว รัสสะ ซ้อน ทฺ.
  23. นิทาฆ : (ปุ.) ฤดูร้อน, ฤดูแล้ง, หน้าร้อน. วิ. นิทหนฺเต อสฺมินฺติ นิทาโฆ. ความร้อน, ความอบอ้าว, เหงื่อ. นิปุพฺโพ, หทฺ ภสฺมีกรเณ, โณ, หสฺส โฆ. ส. นิทาฆ.
  24. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  25. นิพฺพานนินฺน : ค. อันน้อมเข้าสู่นิพพาน, ซึ่งมุ่งต่อพระนิพพาน, อันหนักในพระนิพพาน
  26. นิพฺภจฺเจติ : ก. ขู่, คุกคาม; ทำให้เลวลง, หยามน้ำหน้า
  27. นิมิตฺตกมฺม : นป. การทำนายล่วงหน้า, ลาง
  28. นิยฺยาตน : (นปุ.) การคืนของฝากไว้ให้แก่ เจ้าของ, การให้, การมอบให้. นิบทหน้า ยตฺ ธาตุในความมอบให้ ยุ ปัจ.
  29. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  30. นิลชฺช : (วิ.) มีความสะอาดแล้ว, มีความกระดากออกแล้ว, ฯลฯ, หมดความละอาย, หมดความกระดาก, หน้าด้าน.
  31. นิลฺลชฺช : ค. ไม่มีความละอาย, หมดยางอาย, หน้าด้าน
  32. ปจฺจุปฺปนฺน : กิต. เกิดขึ้นเฉพาะหน้า, ปัจจุบัน
  33. ปจลายติ : ก. ง่วงนอน, พยักหน้า, หงุบหงับ, เคลิ้มหลับไป
  34. ปญฺจปติฏฺฐิต : นป. เบญจางคประดิษฐ์, การหมอบลงกราบกับพื้นด้วยส่วนทั้งห้า (หน้าผาก ๑, มือ ๒, เข่า ๒)
  35. ปฏิกจฺจ : ค. ก่อน, ด่วน, ล่วงหน้า
  36. ปฏิปถ : ป. ทางตรงข้าม, ทางขวางหน้า, ทางสวนกัน
  37. ปฏิภย : นป. ภัยเฉพาะหน้า, สิ่งที่น่ากลัว, อันตราย
  38. ปฏิมคฺค : ป. ทางสวนกัน, ทางขวางหน้า
  39. ปฏิมุข : ค. ตรงข้าม, ซึ่งอยู่เฉพาะหน้า, ซึ่งเผชิญหน้า, เฉพาะหน้า, ต่อหน้า
  40. ปฏิวิรุชฺฌติ : ก. โกรธ, มุ่งร้าย, ขัดใจ, ขัดแย้ง
  41. ปฏิวิโรธ : ป. ความมุ่งร้าย, ความขัดเคือง, ความผิดใจกัน, ความขัดแย้งกัน
  42. ปณิทหติ : ก. ตั้ง (จิตหรือกาย), ดำรง, มุ่งมั่นปรารถนา, มุ่งหวัง
  43. ปณิธาย : อ. ตั้งไว้แล้ว, ดำรงไว้แล้ว, ตั้งความปรารถนาแล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  44. ปณิปตติ : ก. ฟุบลงเบื้องหน้า, หมอบลงข้างหน้า
  45. ปณิหิต : กิต. (อันเขา) ตั้งไว้แล้ว, มุ่งแล้ว, ปรารถนาแล้ว
  46. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  47. ปตฺถนา : (อิต.) ความมุ่งหมาย, ความต้องการ, ความอยากได้, ความปรารถนา. ปตฺถยาจนายํ, ยุ, อิตถิยํ อา. ส. ปรารถนา.
  48. ปตฺถยติ : ก. ปรารถนา, อยากได้, มุ่งหวัง
  49. ปตฺถยาน : กิต. ปรารถนาอยู่, มุ่งหวังอยู่
  50. ปตฺถิต : กิต. (อันเขา) ปรารถนาแล้ว, อยากได้แล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  51. 1-50 | 51-100 | [101-150] | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-458

(0.0676 sec)