Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: มุ่งหน้า, หน้า, มุ่ง , then มง, มงหนา, มุ่ง, มุ่งหน้า, หนา, หน้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : มุ่งหน้า, 458 found, display 301-350
  1. อนาคตสญาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  2. อนาคตสาณ : (นปุ.) ความรู้ในส่วนอันยังไม่ มาถึง, ความหยั่งรู้เหตุการณ์อันยังไม่มาถึง, ญาณหยั่งรู้เหตุการณ์ล่วงหน้า.
  3. อนุกฺกมติ : ก. ก้าวไปตาม, ก้าวไปข้างหน้า
  4. อนุปุพฺพ : (วิ.) อันเป็นไปตามซึ่งกาลในเบื้องหน้า, อันเป็นไปตามซึ่งธรรมในเบื้องหน้า, เป็นกระบวน, เป็นแบบ, เป็นฉบับ, เป็นแบบฉบับ, เป็นลำดับ.
  5. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  6. อนุสนฺธิ : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องต่อตาม, กถาเป็นเครื่องต่อตาม, ความต่อตาม, การต่อเนื่อง, การสืบเนื่อง, การต่อตามลำดับ, การติดต่อ, การต่อ.อนุสํบทหน้าธาธาตุอิปัจ.ส.อนุสํธิ.
  7. อปทาน : (นปุ.) เว้นจากอันขาด (ไม่ขาด).ทาน+อปกลับบทหลังไว้หน้าทานสำเร็จรูปมาจากทาอวขณฺฑเน, ยุ.
  8. อปราปรเวทนียกมฺม : (นปุ.) กรรมให้ผลในภพสืบ ๆคือให้ผลในภพต่อไปจากชาติหน้า.
  9. อปางฺค : (ปุ.) ดิลก (รอยเจิมที่หน้าผาก), ไฝ, ที่สุดแห่งตา, หางตา.วิ.สรีรงฺคสํขาตสฺสกณฺณสฺสอปสมีปํอปางฺโคส.อปางฺค.
  10. อปูป : (ปุ.) แป้ง, ขนม. วิ.อการยุตฺโตปูโปอปูโป.ปูปศัพท์ลงออักษรข้างหน้าบางคัมภีร์ว่าลงอาอักษรแล้วรัสสะส.อปูปอปูปฺยอาปูปฺย.
  11. อเปกฺขน : นป. อเปกฺขา, อิต. ความหวัง, ความปรารถนา, ความมุ่งหมาย
  12. อพฺภกุฏิก : ค. เบิกบาน, ไม่เคร่งขรึม, ไม่หน้านิ่วคิ้วขมวด
  13. อพฺภากุฏิก : (วิ.) มิใช่ผู้สยิ้วหน้า, ผู้ไม่สยิวหน้า
  14. อพฺภาคต : ค. แขก, คนแปลกหน้า, ผู้มาถึงแล้ว
  15. อพฺภาจิกฺขน : (นปุ.) การกล่าวตู่, ฯลฯ, คำกล่าวตู่, ฯลฯ.อภิอาบทหน้าจิกฺขฺธาตุในความกล่าวยุปัจ.
  16. อพฺภาส : (ปุ.) การทวนซ้ำ, การซ้อนกัน, การซ้ำกัน, คำซ้ำ, คำซ้อนอัพภาสคือซ้ำหรือซ้อนอักษรลงหน้าคำ.ส.อพฺยาส.
  17. อภิ : (อัพ. อุปสรรค)ยิ่ง, ใหญ่, ทับ, จำเพาะ, เฉพาะ, เฉพาะหน้า, เหนือ, หนัก.ส.อภิ.
  18. อภิกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปข้างหน้า, การก้าวไปในเบื้องหน้า, การเดินไป.อภิปุพฺโพ, กมฺวิกฺเขเป, อ, กฺสํโยโค.
  19. อภิติฏฺฐติ : ก. ปกครอง, ดำรงอยู่เหนือ, ยืนเด่น, ขึ้นหน้า
  20. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  21. อภินีหรติ : ก. นำออกไป, มุ่งไป
  22. อภิบทฺทน : (นปุ.) การข่มเหง, การย่ำยี, การเหยียบย่ำ.อภิบทหน้ามทฺทธาตุในความเหยียบเป็นต้นยุปัจ.
  23. อภิปุพฺพ : (วิ.) มีอภิเป็นบทหน้า, มีอภิอยู่หน้า.
  24. อภิมุข : ก. วิ. โดยเฉพาะหน้า, ตรงหน้า
  25. อภิสขรอภิสงฺขร : (ปุ.) การบันดาล.อภิสํบทหน้ากรฺธาตุอปัจ.แปลงกรฺเป็นขรฺรูปฯ ๕๖๖.
  26. อภิสขร อภิสงฺขร : (ปุ.) การบันดาล. อภิ สํ บทหน้า กรฺ ธาตุ อ ปัจ. แปลง กรฺ เป็น ขรฺ รูปฯ ๕๖๖.
  27. อภิสญฺเจตยิต : นป., กิต. ความตริตรอง, ความมุ่งหมาย, ความตั้งใจ
  28. อภิสญฺเจเตติ : ก. คิดมุ่งหมาย, ตั้งใจ
  29. อภิสนฺทิ : อิต. อัชฌาสัย, ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย
  30. อภิสนฺธิ : (อิต.) ธรรมชาติผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความมุ่งหมาย, อัธยาศัย.วิ.จิตฺเตอภิสนฺ-ธายเตติอภิสนฺธิ.อภิสํปุพฺโพ, ธาธาร-เณ, อิ.
  31. อภิสมฺปราย : (ปุ.) ปรโลกอันสัตว์พึงไปในเบื้องหน้าพร้อมเฉพาะแล้ว, ภพอันสัตว์พึงถึงพร้อมเฉพาะในเบื้องหน้า, โลกหน้า, ภพหน้า.
  32. อภิสมฺปรายิก : (วิ.) ผู้ไปสู่ภพหน้า, ผู้ไปสู่โลกหน้า.
  33. อภิสมฺปรายิกภว : (ปุ.) ภพอันสัตว์พึงไปในเบื้องหน้า, ภพหน้า.
  34. อมุตร : (อัพ. นิบาต) ภพอื่น, ภพหน้า, ภายหน้าข้างหน้า, ข้างโน้น.เป็นภวันตรัตถวาจก-นิบาต.ในที่อื่น, ฯลฯ, ในที่โน้นเป็นนิบาตลงในอรรถสัตตมี.
  35. อลชฺชี : (วิ.) ผู้ไม่มียางอาย, ผู้ไม่มีความอาย, ผู้ไม่มีความกระดาก, ผู้หน้าด้าน.
  36. อลตฺตก : (ปุ.) ครั่ง, สีครั่ง.วิ.อาภุโสรตฺตํกโรตีติอลตฺตโก.อา รตฺตบทหน้ากรฺธาตุกฺวิปัจ.รัสสะอาเป็นอแปลงรเป็นลลบที่สุดธาตุ.
  37. อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
  38. อวฺยาปนฺน : ค. ปราศจากความพยาบาท, ไม่มีความมุ่งร้าย
  39. อวหาร : (ปุ.) การนำลง, การฉวยเอา, การชิงเอาการลัก, การขโมย, ความนำลง.อวหรือโอบทหน้าหรฺธาตุในความถือเอาณปัจ.ส.อวหาร.
  40. อวาปูรณ : (นปุ.) ลูกกุญแจ, ลูกตาล, เครื่องบิด, เครื่องเปิด, เครื่องไข.วิ. อวาปูรติวิวรติทฺวารํ เอเตนาติ อวาปูรณํ.อวปุพฺโพ, ปุรฺสํวรเณ, ยุ.อถวา, วุสํวรเณ, ยุ, วสฺสโป, อุปสคฺคสฺสทีฆตา, อุการสฺสทีฆตา, รฺอาคโม.สัททนีติวางอว อาเป็นบทหน้าเป็นอวาปุรณบ้าง.
  41. อวิมุข : ค. ไม่หลบหน้า, ไม่หลีกลี้หนีหน้า
  42. อสมฺมุข, - มุขีภูต : ค. ไม่พร้อมหน้า, ไม่เฉพาะหน้า, ไม่เผชิญหน้า
  43. อสฺสมุขี : (อิต.) ยักษิณีมีหน้าเหมือนม้า, ยักษิณีหน้าม้า.
  44. อสฺสว : (วิ.) ผู้ว่าง่าย, ผู้สอนง่าย, ผู้เชื่อฟัง, วิ.อาเทสิตํอาทเรเนวสุณาตีติอสฺสโว.อาบทหน้าสุธาตุอ หรือณปัจ. พฤทธิอุ เป็น โอ แปลง โอ เป็นอว รัสสะอาเป็นอซ้อนสฺ.
  45. อสฺสาว : ป. สิว, โรคสิวที่หน้า
  46. อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
  47. อาขฺยาต : (นปุ.) อาขยาดชื่อปกรณ์ของบาลีไวยากรณ์ปกรณ์หนึ่งวิ. กิริยํอาขฺยาตีติอาขฺยาตํ (ปทํ สทฺทชาตํ).กิริยํอาจิกฺขตีติอาขฺยาตํ.รูปฯ ๒๔๐.อาขฺยาตีติอาขฺยาตํ.อภิฯ.อาบทหน้า ขฺยาธาตุในความกล่าวตปัจ.ซ้อนกฺ เป็น อากฺขฺยาตบ้าง.
  48. อาคท : (ปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  49. อาคทน : (นปุ.) ถ้อยคำ (กล่าวชัด)อาบทหน้าคทฺธาตุในความกล่าวชัดเจนอ.ยุปัจ.
  50. อาคามีกาล : ป. อนาคตกาล, กาลเบื้องหน้า
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-458

(0.0749 sec)