Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หงายหลัง, หลัง, หงาย , then หงาย, หงายหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หงายหลัง, 461 found, display 151-200
  1. ธนกิต ธนกฺกีต : (ปุ.) ทาสที่ถ่ายมาด้วยทรัพย์, ทาสที่ซื้อมาด้วยทรัพย์. วิ ธเนน กีโต ธนกีโต. ธนํ ทตฺวา ทาสภาวํ กโรตีติ วา ธนกีโต. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  2. ธนสาร : (นปุ.) ทรัพย์อันเป็นแก่น, ทรัพย์ อันเป็นแก่นสาร. ธน+สาร, ทรัพย์อันเป็นแก่นแห่งทรัพย์. ธน+ธนสาร ลบ ธนศัพท์หลัง.
  3. ธนุปญฺจสต : (นปุ.) ร้อยห้าแห่งธนู, ห้าร้อย ชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนู, ห้าร้อยชั่วธนูเป็น ๑ โกสะ. วิ. อาโรปิตานํ อาจริยธนูนํ ปญฺจสตํ ธนุปญฺจสตํ. วิ. นี้เฉพาะคำแปลหลัง. ธนุปญฺจสตํ โกโส นาม.
  4. ธมฺมสวน ธมฺมสฺสวน : (วิ.) (กาล) เป็นที่ฟัง ซึ่งธรรม. วิ. ธมฺมํ สุณาติ เอตฺถาติ ธมฺมสวโน ธมฺมสฺสวโน วา. ศัพท์หลังซ้อน สฺ และใช้ศัพท์นี้โดยมาก.
  5. ธย ธาย : (ปุ.) เจ้าหนี้. ธา ธารเณ, อ. แปลง อา เป็น อิ แปลง อิ เป็น ย ศัพทฺหลังแปลง อา เป็น อาย.
  6. ธานี : (นปุ.)เมือง,ธานี,ธานิน.ธาธารเณ,โน,อิตฺถิยํอี.ศัพท์หลังนิยปัจ.ธานีเมื่อเข้าประโยคจะเป็นศัพท์สมาสเสมออุ.ราชธานี.ส.ธานี.
  7. ธุต ธูต : (วิ.) กำจัด, ขจัด, ขัดเกลา, ไหว, หวั่นไหว, สั่น, สบัด, สลัด, กระดิก. ธุ วิธุนนกมฺปเนสุ, โต. ศัพท์หลังทีฆะ หรือตั้ง ธู วิธูนเน.
  8. นคฺค : (วิ.) เปล่า, เปลือย, เปลือยกาย. วิ. น คจุฉตีติ นคฺโค. นปุพฺโพ คมฺ คติยํ, กฺวิ. ลบ มุ แปลง ค เป็น คฺค หรือตั้ง ลคฺค สงฺเค, อ. แปลง ล เป็น น หรือ ตั้ง นชิ ลชิ ชิเลย, โณ. แปลง ช เป็น ค แล้วแปลงเป็น คฺค ธาตุหลังแปลง ล เป็น น. ส. นคฺน.
  9. นตฺตมาล นตฺตมาลก : (ปุ.) ไม้กระเช้า, ไม้ กุ่ม, กถินพิมาน. วิ. นตฺตา มาลา ยสฺส โส นตฺตมาโล. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  10. นลนฬ : (ปุ.) ไม้ไผ่, ไม้รวก, ไม้อ้อ, ไม้เสา, นิ นเย, อโล. ลบ อิ ศัพท์หลังแปลง ล เป็น ส. นฑ, นล.
  11. นลาฏ นลาต : (ปุ.) หน้าผาก. นลฺ คนฺเธ, อาโฏ. ศัพท์หลังแปลง ฏ เป็น ต?.
  12. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  13. นิกฺกุชฺช : ค. คว่ำ, ไม่หงาย, โค่น, โยนทิ้ง
  14. นิกงฺข มิกฺกงฺข : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว (ไม่มีความสงสัย) วิ. นิกฺขนฺตา กงฺขา ยสฺส โส นิกงฺโข ศัพท์หลังซ้อน ก.
  15. นิกุชฺช : ค. คว่ำ, ไม่หงาย, โยนทิ้ง
  16. นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็น อ เป็น อิ.
  17. นินฺนหุต : (นปุ.) นินนหุต ชื่อมาตรานับ เท่า กับเลข ๑ มีสูญตามหลัง ๓๕ สูญ. นหุตลกฺขสตํ นินฺนหุตํ. ปญฺจตึสติพินฺทุส- หิตา เอกา เลขา.
  18. นินฺนหุตฺต : นป. มาตรานับจำนวนสูงเท่ากับ ๑๖,๐๐๐,๐๐๐๕ หรือ ๑ มีศูนย์ตามหลัง ๓๕ ตัว
  19. นิพฺพาณ นิพฺพาน : (นปุ.) ธรรมอันออกแล้ว จากตัณหา, ธรรมอันออกแล้วจากตัณหา เครื่องร้อยรัด, ธรรมอันออกไปแล้วจาก ตัณหาเครื่องร้อยรัด. วิ. วาฯโต วานโต วา นิกฺขนฺตํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. รูปฯ วิ. วานโต นิกฺขนฺตํ นิพฺพานํ. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ความออกจากตัณหา, ความออกไปจากตัณหา, ฯลฯ. วิ. วาณโต วานโต วา นิกฺขมนํ นิพฺพาณํ นิพฺพานํ วา. ธรรมออกแล้วจากวานะ, จิตออกแล้วจาก วานะ. วิ. นิกฺขนตํ วานโต นิพฺพานํ. นตฺถิ วา เอตฺถ วานํ นิพฺพานํ อัฏฐกถาปรมัตถ- ทีปนี. ความสงบ ความดับ ความดับสนิท (ของจิต). นิปุพฺโพ, วา อุปสเม, ยุ. ธรรม ปราศจากเครื่องรัอยรัด, จิตปราศจาก เครื่องร้อยรัด. นิปพฺโพ, วิ สํสิพฺพเน, ยุ. ความดับด้วยอันสำรอกโดยไม่เหลือ เพราะสิ้นตัณหาโดยประการทั้งปวง, ความดับสนิทจากกิเลสและกองทุกข์, แดนอันปราศจากสังขาร (เครื่องปรุงแต่ง), นิพพาณ, นิพพาน, พระนิพพาณ, พระ นิพพาน. วิ. นิพฺพายนนฺติ อริยชนา เอตสฺมินฺติ นิพฺพานํ. นิพฺพายนฺติ สพฺเพ วฏฺฏทุกฺขนสนฺตาปา เอตสฺมินฺติ วา นิพฺพานํ. ส. นิรฺวาณ.
  20. นิย นิยก : (วิ.) เป็นของตน วิ. เนตพฺโพ นิโย. นิ นเย, โณฺย. ฎีกาอภิฯ ผู้เกิดในตน, ผู้เกิดแต่ตน, ผู้อาศัยตนเกิด. วิ. อตฺตนิ ชาโต นิโย. อตฺตนา ชาโต นิโย. อตฺตานํ นิสฺสาย ชายตีติ นิโย. แปลง ชนฺ เป็น ชา รัสสะ แปลง ช เป็น ย ศัพท์หลัง ก สกัด นิ มาจาก นิสฺสาย.
  21. นิยุชฺชน นิยุญชน : (นปุ.) การประกอบเข้า, ความประกอบเข้า. นิปุพฺโพ, ยชฺ โยเค, ยุ. ซ้อน ชฺ ศัพท์หลังลงนิคคหิตอาคม.
  22. นิรตฺถ นิรตฺถก : (วิ.) มีประโยชน์ออกแล้ว, หาประโยชน์มิได้, ไม่มีประโยชน์, ปราศ จากประโยชน์, ไร้ประโยชน์, เปล่า. วิ. นตถิ อตฺโถ อสฺสาติ นิรตฺโถ นิรตฺถโก วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. รู อาคม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  23. นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
  24. นิวตฺเตติ : ก. ให้กลับ, ให้หยุดอยู่เบื้องหลัง
  25. ปจฺฉโต : อ. ข้างหลัง
  26. ปจฺฉา : อ. ภายหลัง
  27. ปจฺฉาชาติ : กิต. เกิดภายหลัง
  28. ปจฺฉาตาป : ป. การเร่าร้อนในภายหลัง
  29. ปจฺฉานิปาตี : ป. ผู้ออกไปภายหลัง
  30. ปจฺฉานุตปฺปติ : ก. เดือดร้อนในภายหลัง
  31. ปจฺฉานุตาป : ป. การตามเดือดร้อนในภายหลัง, ความสำนึกตัว
  32. ปจฺฉาพาห : ก. วิ. ให้มีมือข้างหลัง, มัดมือไพล่หลัง
  33. ปจฺฉาภตฺต : ก. วิ. ภายหลังอาหาร, เวลาบ่าย
  34. ปจฺฉาภาค : ป. ส่วนหลัง
  35. ปจฺฉาสมณ : ป. สมณะผู้ตามหลัง, พระผู้น้อยเดินตามหลังพระผู้ใหญ่
  36. ปจฺฉิม : ค. เกิดภายหลัง, มีในภายหลัง
  37. ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม; ๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
  38. ปฏิสกฺกติ : ก. วิ่งกลับ, ถอยหลัง
  39. ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
  40. ปตฺตชีวก : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งการเลี้ยงชีพ วิ. ชีวิกํ ปตฺโต ปตฺตชีวโก. กลับบทหน้าไว้หลัง รูปฯ ๓๓๖.
  41. ปมุท ปโมท : (ปุ.) ความบันเทิงยิ่ง, ความยินดียิ่ง, ความร่าเริงยิ่ง, ความรื่นเริงยิ่ง, ความบันเทิง, ฯลฯ. ปปุพฺโพ, มุทฺ หาเส, ศัพท์หลัง ณ ปัจ.
  42. ปยุชฺชน ปยุญฺชน : (นปุ.) การประกอบ, ความประกอบ, ความประกอบยิ่ง. ปปุพฺโพ, ยุชฺ โยเค, ยุ. แปลง ช เป็น ชฺช ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  43. ปรปุริส : (ปุ.) บุรุษอื่น, บุรุษอื่นๆ, บุรุษ เบื้องหลัง.
  44. ปรมฺปรโภชน : (นปุ.) โภชนะอันคนอื่นนิมนต์ ภายหลัง, โภชนะที่คนนิมนต์ทีหลัง. ภิกษุ รับนิมนต์ฉันไว้แห่งหนึ่ง แล้วไม่ไปฉัน กลับไปฉันที่เขานิมนต์ทีหลังอันเป็นเวลา เดียวกัน เรียกว่า ฉันเป็นปรัมประ ทรง ห้ามไว้ พุทธประสงค์ เพื่อรักษาศรัทธา ( หน้า ) ของทายกทายิกาผู้นิมนต์ก่อน. ปญฺจนฺนํ โภชนานํ อญฺญตเรน โภชเนน นิมนฺติโต ตํ ฐเปตฺวา อญฺญานํ ปญฺจนฺนํ โภชนา นํ อญฺญตรํ โภชนํ ภุญฺชติ. เอตํ ปรมฺปรโภชนํ นาม. ไตร. ๒/๓๒๐
  45. ปรมฺมรณา : อ. เบื้องหน้าแต่ตาย, หลังจากตาย
  46. ปรมฺมุขา : (อัพ. นิบาต) ลับ, ลับหน้า, ในที่อื่น แห่งหน้า, ลับหลัง, ในที่ลับหลัง.
  47. ปรหิยฺย : (ปุ.) วันอื่นจากวันวาน, วานซืน ( ก่อนวานนี้วันหนึ่ง ). วิ. หิยฺยโต ปโร ปรหิยฺโย. กลับบทหน้าไว้หลัง. อมาทิปรตัป รูปฯ ๓๓๖.
  48. ปริจาค ปริจฺจาค : (ปุ.) การสละ, การให้, การให้ปัน, การสละให้, การเสียสละ. ปริปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, เท๎วภาวะ หา รัสสะเป็น ห แปลง ห,ห เป็น จ,ค หรือ ตั้ง จชฺ จาเค ศัพท์หลังซ้อน จฺ โมคฯ ลง ฆณฺ ปัจ. ส. ปริตฺยาค.
  49. ปโร : อ. ข้างบน, ข้างหลัง, ไปเบื้องหน้า ; มากกว่า
  50. ปาสาณปิฏฺฐิ : อิต. หลังแผ่นหิน, หินดาน
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-461

(0.0348 sec)