Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หงายหลัง, หลัง, หงาย , then หงาย, หงายหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หงายหลัง, 461 found, display 201-250
  1. ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
  2. ปิฏฺฐิ : อิต. หลัง, หลังด้าน, ข้างบน, ยอด
  3. ปิฏฺฐิก : ค. มีหลัง
  4. ปิฏฺฐิกณฺฏก : นป. กระดูกสันหลัง
  5. ปิฏฺฐิคต : ค. ซึ่งไปบนหลัง, ซึ่งขี่หลังไป
  6. ปิฏฺฐิปณฺณสาลา : อิต. ด้านหลังของบรรณศาลา
  7. ปิฏฺฐิปริกมฺม : นป. การนวดหลัง (โดยวิธีถูไปถูมา)
  8. ปิฏฺฐิปสฺส : นป. ส่วนด้านหลัง, ข้างหลัง
  9. ปิฏฺฐิปาท : ป. หลังเท้า, น่อง
  10. ปิฏฺฐิปาสาณ : ป. หลังหิน, ลานหิน, หินดาด
  11. ปิฏฺฐิพาห : นป. หลังแขน
  12. ปิฏฺฐิมนฺตุ : ค. ผู้มีหลัง
  13. ปิฏฺฐิมส : นป. เนื้อสันหลัง
  14. ปิฏฺฐิมสิก : ค. ผู้ติเตียนลับหลัง, ผู้นินทา
  15. ปิฏฺฐิมสิกตา : อิต. การติเตียนลับหลัง, การนินทา
  16. ปิฏฺฐิโรค : ป. โรคปวดสันหลัง
  17. ปิฏฺฐิวส : ป. กระดูกสันหลัง; ชื่อเรือน
  18. ปุถุปาณิก, - ณิย : นป. การถูหลังด้วยมือ
  19. ปุพฺพกาย : (ปุ.) เบื้องต้นแห่งกาย, เบื้องต้นของกาย. วิ. กายสฺส ปุพพํ ปุริโม ภาโค ปุพฺพกาโย. เป็นตัปปุริสพิเศษ เมื่อเป็นบทปลง กลับบทหน้าไว้หลัง.
  20. ปุพฺพกิจฺจ : (นปุ.) กิจที่จะต้อง ทำก่อน,กิจเบื้องต้น,บุพกิจ คือกิจที่ทำหลังบุพกรณ์.
  21. ปุราเภท : (นปุ.) ภายหลังแห่งความตาย. วิ. เภทาย ปุรา ปุราเภทํ.
  22. ปุฬูว ปุฬูวก : (ปุ.) หนอน, แมลง (แมลงต่างๆ). ปุฬฺ สํฆาเต (หึสายํ), อโว, อสฺส อู (แปลง อ เป็น อู). ศัพท์หลัง ก สกัด.
  23. ปูติ ปูติก : (วิ.) บูด, เน่า, เปื่อย, เปื่อยเน่า, เหม็น, ยุ. ปูยิ ทุคฺคนฺเธ, ติ. ลบที่สุดธาตุศัพท์หลัง ก สกัด.
  24. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  25. ผิต ผีต : (วิ.) แผ่ไป, เผล็ต, บาน, แพร่หลาย, มั่งคั่ง, ผึ่งผาย, กว้าง, กว้างขวาง. ผิ คมเน, โต. ศัพท์หลังทีฆะ.
  26. พทฺธเวร : (นปุ.) การผูกเวร. เวร+พทฺธ กลับบทหน้าไว้หลัง.
  27. พนฺธุก พนฺธูก : (ปุ.) ชบา. พนฺธฺ พนฺธเน, อุ, สตฺเถ โก. ศัพท์หลังทีฆะ.
  28. พฺยปถ พฺยปฺปถ : (ปุ.) ทางแห่งวาจา, คลองแห่งวาจา, คำเป็นทาง, ถ้อยคำเป็นทาง. วาจา+ปถ. วาจาย โพฺย ปเถ เพราะ ปถ ศัพท์อยู่หนปลาย แปลงวาจาศัพท์เป็น พฺย. ศัพท์หลังซ้อน ปฺ.
  29. พฺยาวฏ พฺยาวต : (วิ.) ขวน ขวาย, พยายาม, กระ ตือรือร้น. วิ อา ปุพฺโพ, วฏฺ เวฐเน, อ. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ต.
  30. พิมฺโพหน : (นปุ.) หมอน, เขนย. วิ. วิเสเสนสีสํ วห-ตีติ พมฺโพหนํ. วเสสปุพฺ-โพ, วหฺปาปุณเน, ยุ, ลบ สฺส แปลง ว ทั้งสองเป็น พ แปลง อ ที่ พ ตัวหลัง เป็น โอ นิคคหิตอาคม.
  31. โพธิสมฺภาร : (ปุ.) บารมีธรรมเป็นเครื่องอุดหนุนแก่พระโพธิญาณ, โพธิสมภาร คือ บุญบารมีที่ได้สะสมไว้แต่หนหลังบุญบารมีของพระมหากษัตริย์.
  32. ภตฺตการ ภตฺตการก : (ปุ.) คนหุงข้าว, พ่อครัว. วิ. ภตฺตํ กโรติ กริสฺสติ อกาสีติ ภตฺตกาโร ภตฺตการโก วา. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  33. ภมุกา : (อิต.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  34. ภมุ ภมุก : (ปุ.) คิ้ว. วิ. ภมติ จรตีติ ภมุ ภมุโก ภมุกา วา. ภมุ อนวฏฺฐเน, อุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือ อุก ปัจ.
  35. ภาณุ ภานุ : (ปุ.) พระอาทิตย์, ภาณุมาศ ภาณุมาต ๒ คำหลังนี้ใช้ในคำกลอนโดยมาก. ภา ทิตฺติยํ, ณุ, นุ. รูปฯ ๖๖๕.
  36. ภินฺทิวาล ภินฺทิวาฬ : (ปุ.) ภินทิวาล ภินทิวาฬ ชื่อหอกชนิดหนึ่ง วิ. ภินฺทนสีลตาย ภินฺที, วาติ คจฺฉติ อเนนาติ วาโล. วา คติยํ, อโล. ภินฺที จ โส วาโล เจติ ภินฺทิวาโล ภินฺทิวาโฬ วา รัสสะ อี เป็น อิ ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  37. ภีรุ ภีรุก : (วิ.) กลัว, ขลาด, ขี้ขลาด, สะดุ้งกลัว. วิ. ภายตีติ ภีรุ ภีรุโก วา. อถวา, ภายนสีโล ภีรุ ภีรุโก วา. ภี ภเย, รุ. ศัพท์หลัง ก สกัด หรือลง รุก ปัจ. หรือ ลง ณุก ปัจ. ลบ ณฺ แล้ว ลง รฺ อาคม.
  38. ภุชงฺค ภุชงฺคม : (ปุ.) แปลเหมือน ภุชค. วิ. ภุเชน คจฺฉตีติ ภุชงฺโค ภุชงฺคโม วา. ศัพท์ต้น กฺวิ ปัจ. ศัพท์หลัง อ ปัจ. ลง นิคคหิตอาคม.
  39. ภูติณ ภูติณก ภูตินก : (นปุ.) ตะไคร้ วิ. ภูมิยํ ลคฺคํ ติณํ ภูติณกํ วา ภูตินกํ วา. สองศัพท์หลัง ก สกัด ศัพท์ที่ ๓ แปลง ณ เป็น น.
  40. ภูรุห ภูรูห : (ปุ.) ต้นไม้. ภูปุ-พฺโพ, รุหฺ ปาตุ ภาเว, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  41. โภต โภตี : (วิ.) ผู้เจริญ. ภู สตฺตายํ. อนฺต ปัจ. เป็น ภวนฺต แปลงเป็น โภต ศัพท์หลังลง อี อิต.
  42. มคฺคุร : (ปุ.) ปลาลำพัน ชื่อปลาชนิดหนึ่ง มีครีบหลังและครีบก้นไปรวมกับครีบหาง. ปลาดุกลำพัน ก็เรียก.
  43. มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  44. มณฺฑุก มฺณฺฑูก : (ปุ.) กบ (สัตว์ ๔ เท้า อยู่ได้ทั้งในน้ำและบนบก) วิ. มณฺเฑ-ติ ชลํ ภูเสตีติ มณฺฑุโก มณฺฑูโก วา. มณฺฑฺ ภูสเน, อุโก. ศัพท์หลัง ทีฆะ.
  45. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  46. มนการ มนกฺการ : (ปุ.) อันกระทำไว้ในใจ, การกระ ทำไว้ในใจ, การตั้งใจ, ความตั้งใจ. วิ. ภวงฺคมนโต วิสทิสํ มนํ กโรตีติ มนการโร. มนสฺมึ วา กาโร มนกาโร ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  47. มยฺหงฺก มยฺหก : (ปุ.) นกเขา. มยฺหํปพฺโพ, กุ สทฺเท, อ. ศัพท์หลังลบนิคคหิต.
  48. มริจ มริจฺจ : (นปุ.) พริก, พริกไทย, กระวาน. มรฺ ปาณจาเค, โจ, อิ อาคโม. ศัพท์หลังซ้อน จฺ.
  49. มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
  50. มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-461

(0.0446 sec)