Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หงายหลัง, หลัง, หงาย , then หงาย, หงายหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หงายหลัง, 461 found, display 251-300
  1. มลิน มลีน : (วิ.) เก่า, ขุ่นมัว, มัวหมอง, หม่นหมอง, เศร้าหมอง, ไม่บริสุทธิ์, มีมลทิน. มลยุตฺตตาย มลิโน มลีโน วา. อัน ปัจ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  2. มาฆบูชา : (อิต.) การบูชาในวันเพ็ญเดือน ๓, การบูชาด้วยปรารภเหตุสำคัญของพุทธศาสนาซึ่งเกิดขึ้นในวันเพ็ญเดือนมาฆะ ถ้าปีใดมีอธิกมาสจะเลื่อนไปทำการบูชาเพ็ญกลางเดือน ๔ วันมาฆบูชามีความสำคัญ ดังนี้ – ๑.  เพราะตรงกับวันจาตุรงคสันนิบาต (ดูคำจตุรงฺคสนฺนิปาต ด้วย). พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ภายหลังจากตรัสรู้ได้ ๙ เดือน และ ๒. เพราะตรงกับวันปลงพระชนมายุสังขารในพรรรษาสุดท้าย ก่อนเสด็จดับขันธปรินิพพาน ๓ เดือน.วันมาฆบูชา เป็นวันพระสงฆ์.
  3. มารเสนา : (อิต.) มารและเสนาแห่งมาร. มาร+มารเสนา ลบ มาร ศัพท์หลัง.
  4. มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
  5. มิคพฺพธ มิคพฺยธ : (ปุ.) คนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น วธ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ ศัพท์หลัง ดู มิควฺยธ.
  6. มิสฺส มิสฺสก : (วิ.) แซม, เจือ, ปน, เจือปน, ปนกัน, คละ, คละกัน, ระคน, ระคนกัน, คลุกเคล้า. มิสฺ สมฺมิสฺเส, โส. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  7. มุจลินฺท มุจฺจลินฺท : (ปุ.) ต้นจิก, ไม้จิก. จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อินฺโท. เท๎วภาวะ จุ แปลงเป็น มุ ศัพท์หลังซ้อน จฺ หรือตั้ง มุจลฺ สงฺฆาเต.
  8. มุณฺฑ มุณฺฑก : (วิ.) เกลี้ยง, โล้น. มุฑิ ขณฺฑเน, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  9. มุลาล มุฬาล : (ปุ. นปุ.) รากเหง้า. วิ. มูเลชายตีติ มุลาโล มุฬาโล วา. มูล+อล ปัจ. รัสสะ. มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อโล, รสฺโส. มีลฺนิมีลเน วา, อโล. แปลง อี เป็น อุ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  10. เมขล : (นปุ.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
  11. เมขลา : (อิต.) สายรัดเอว, เครื่องประดับเอว, เครื่องประดับเอวสตรี, เข็มขัด, เข็มขัดหญิง, สังวาล ชื่อเครื่องประดับชนิดหนึ่ง ทำเป็นรูปสายสร้อย ใช้คล้องสะพายแล่ง. เมขฺ กฏิวิจิตฺเต, อโล. ศัพท์หลัง อา อิต.
  12. เมท เมทก : (ปุ.) มัน, มันข้น, น้ำมันข้น. มิทฺ สิเนหเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  13. รชนี รชฺชนี : (อิต.) ค่ำ (เวลามืดตอนต้นของกลางคืน), เวลาค่ำ, เวลามืด, กลางคืน, ค่ำคืน, รัชนี. วิ. รญฺชนฺติ ราคิโน อตฺราติ รชนี. ยุ, อิตฺถยํ อี. ศัพท์หลังแปลง ช เป็น ชฺช.
  14. วิมุข : ค.ข้างหลัง; เพิกเฉย
  15. สนฺถาร สนฺถารก : (ปุ.) การลาด, การปู, การปูลาด, ที่รอง. ณ ปัจ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  16. สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
  17. สริกฺข สริกฺขก : (วิ.) อัน...เห็นเสมอ, อัน...เห็นสม, อัน...พึงเห็นเสมอ. วิ. สมานมิว มํ ปสสิตพฺโพติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน, เหมือนกัน. วิ. สมาน มิว นํ ปสฺสตีติ สริกฺโข สริกฺขโก วา. สมานสฺส โส, ทิสฺธาตุยา ริกฺโข. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  18. สิกขาปท : (นปุ.) บทอันบุคคลพึงศึกษา, สิกขาบทคือ ข้อศีล ข้อวินัย ข้อหนึ่ง ๆ เป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ หรือมูลบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งไว้เดิม และอนุบัญญัติ ข้อที่ทรงตั้งเพิ่มเติมภายหลัง รวมเป็นสิกขาบทหนึ่ง ๆ สิกขาบทมีความหมายแคบ หมายเอาเฉพาะ สีล ส่วน สิกขา หมายเอา สีล สมาธิ และ ปัญญา.
  19. สิทฺธตฺถ สิทฺธตฺถก : (ปุ.) เมล็ดพันธุ์ผักกาด วิ. สิทฺธา อตฺถา อสฺมินฺติ สิทฺธตฺโถ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  20. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  21. สีวถิกา สีวฎฺฐกา : (อิต.) ป่าช้าผีดิบ วิ. ฉวา ธียนฺเต อตฺราติ สีวถิกา. ฉวปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ณฺวุ, ฉสฺส โส, อสฺสี, ธสฺส โถ, อสฺสิ, อิตฺถิยํ อา. ศัพท์หลัง แปลง ถิ เป็น ฐ ซ้อน ฎ.
  22. สุกร สูกร : (ปุ.) หมู, สุกร (สุกอน). วิ. สุนฺทรํ ผลํ กโรตีติ สุกโร สูกโร วา. อ ปัจ. ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. ศูกร, สูกร.
  23. เสกฺข เสข : (ปุ.) บุคคลผู้ยังต้องศึกษา, บุคคลที่ยังต้องศึกษา, เสกขบุคคล, เสขบุคคล, พระเสขะ คือ พระอริยบุคคล ๗ เบื้องต้น. สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, โณ. ศัพท์หลังลบ กฺ. อภิฯ วิ. ตีหิ สิกฺขาหิ ยุตฺตตฺตา เสกฺโข เสโข วา.
  24. เสยฺยก : (ปุ.) เด็กในผ้าอ้อม (นอนหงาย).
  25. โสตฺถิก โสตฺถิย : (วิ.) ผู้ถึงแล้วซึ่งความสวัสดี, ฯลฯ. ณิก ปัจ. ตรัทยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย.
  26. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  27. หตฺถตฺถร : ป. ที่รองหลังช้าง
  28. หตฺถิกลก หตฺถิกุลภ : (ปุ.) ช้างสะเทิน (สะเทิน คือรุ่น), ช้างรุ่น. หตฺถี+กลภ ศัพท์หลังแปลง อ เป็น อุ.
  29. หุติ หุตฺติ : (อิต.) การให้, การบูชา, การเซ่น. หุ ทานปูชนหพฺยปฺปทาเนสุ. ติ ศัพท์หลังแปลง ติ เป็น ตฺติ.
  30. เหฎฺฐา : (อัพ. นิบาต) เบื้องต่ำ, ภายหลัง, ภายใต้, ในภายใต้.
  31. อกฺขเทวิ อกฺขเทวี อกฺขธุตฺต : (ปุ.) นักเลงเล่นการพนัน, นักเลงสกา.อกฺขปุพฺโพ, ทิวุกีฬายํ, อิ, อี. ศัพท์หลัง อกฺข+ธุตฺต.
  32. อคลู : (ปุ.) กฤษณา, กฤษณาสามัญ, ไม้กฤษณา. ลหุนามกตฺตาอครุ. แปลง ร เป็น ล, ฬ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  33. อจฺจรอจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจศัพย์หลัง แปลง อ ที่ จเป็น อุ.
  34. อจริม : (วิ.) ไม่หลัง, ไม่ใช่สิ่งสุดท้าย.
  35. อชฺชุณฺโห : ก.วิ. คืนเดือนหงายนี้, คืนนี้
  36. อญฺโญญ : (วิ.) กันและกัน.อญฺญ+อญฺญลบ อที่สุดของศัพท์หน้าแปลง อเบื้องต้นของศัพท์หลังเป็นโอ.
  37. อฏฺฏาลอฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺโพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลังณฺวุ ปัจ.
  38. อฏฺฏาล อฏฺฏาลก : (ปุ.) ที่ป้องกันอันตราย, หอรบ, หอคอย, ป้อม, ป้อมยาม. อฏฺฏปุพฺ โพ, อลฺ นิวารเณ, โณ, ศัพท์หลัง ณฺวุ ปัจ.
  39. อฏฺฐิอฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺสฏฺโฐอสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป.ศัพท์หลัง ก สกัด. ส.อสฺถิอสฺถิก.
  40. อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
  41. อฏนีอฏฺฏนิอฏฺฏนี : (อิต.) แม่แคร่, แม่แคร่เตียง.อฏฺ คมณ, อนี. ยุวา.ศัพท์หลังแปลงฏ เป็นฎฺฎ.
  42. อฏนี อฏฺฏนิ อฏฺฏนี : (อิต.) แม่แคร่, แม่แคร่ เตียง. อฏฺ คมณ, อนี. ยุ วา. ศัพท์หลัง แปลง ฏ เป็น ฎฺฎ.
  43. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  44. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  45. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  46. อณอณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย.อณฺสทฺเท, ศัพท์หลังกสกัด.
  47. อณ อณก : (ปุ.) การออกเสียง, การอ่าน, การท่อง, การสวด, การสาธยาย. อณฺ สทฺเท, ศัพท์หลัง ก สกัด.
  48. อณุอนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก.อณฺคติยํ, อุ. ศัพท์หลังแปลงณุเป็นนุ.
  49. อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
  50. อตฺตตฺถ อตฺตทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของตน, ประโยชน์ตน.อตฺต+อตฺถศัพท์หลังลงทฺ อาคม.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-461

(0.0772 sec)