Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หงายหลัง, หลัง, หงาย , then หงาย, หงายหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หงายหลัง, 461 found, display 301-350
  1. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  2. อตฺถรูป : (นปุ.) รูปของเนื้อความ, เนื้อความ.คำแปลหลัง รูป เป็นศัพท์สกัด.
  3. อตฺถิภาว : (ปุ.) ความมี, ความเป็น ความเป็นของมี, ความเป็นของเป็น. อตฺถิ+ ตา ปัจ. ศัพท์หลัง วิ. อตฺถิโก ภาโว อตฺถิภา โว. อตฺถิ ลง ก สกัด ลบ ก.
  4. อติถิอติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก(คนผู้มาหา).วิ.นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ.อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ.ศัพท์หลังอี ปัจคนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่ามาหาไม่เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลางคืนไม่เลือกทั้งสิ้น.
  5. อติถิ อติถี : (ปุ.) คนผู้ไม่มีดิถี (แขก), แขก (คนผู้มาหา). วิ. นตฺถิ ติถิ อสฺสาติ อติถิ. อติถี วา ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์หลัง อี ปัจ คนผู้ไม่มีดิถีนั้นหมายความว่า มาหาไม่ เลือกเวลา จะเป็นเช้า สาย บ่าย เย็น กลาง คืน ไม่เลือกทั้งสิ้น.
  6. อติเรก : (วิ.) อันหนึ่งเกิน, ยิ่งกว่าหนึ่ง, เหลือเกิน, ยิ่งเกิน, เกินกว่าหนึ่ง, พิเศษ.วิ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ. เอก+อติ กลับบทหน้าไว้หลัง รฺ อาคม. ส. อติเรก.
  7. อติเวล : (วิ.) ล่วงแล้วซึ่งเวลา.วิ.เวลํอติกฺกนฺโตอติเวลโล.กลับบทหน้าไว้หลัง.
  8. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  9. อเถกทิวส : (อัพ. นิบาต) ภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นภายหลัง ณ วันหนึ่ง, ครั้นวันหนึ่ง.บางมติตัดเป็นอถ ครั้งนั้นเอกทิวสํ ในวันหนึ่งนักภาษาจะใช้แบบไหนก็สุดแต่ชอบ.
  10. อโถ : (อัพ. นิบาต) ลำดับนั้น, ครั้งนั้น, ภายหลังอนึ่ง, อนึ่งโสต, แล.แปลโดยอรรถ ว่าและบ้างรูปฯว่าใช้ในอรรถแห่งคำถามด้วย.
  11. อทีน : (วิ.) ผู้ไม่ย่อหย่อน, ผู้ไม่ถอยหลัง, ผู้ไม่ถอยกลับ.
  12. อธิปฺปเตยฺยอธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด).วิ.อธิป-ติโนภาโวอธิปเตยฺโยอธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺยปัจ.ภาวตัท.วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบณฺซ้อนยฺศัพท์หลังลงปฺสังโยค.
  13. อธิปฺปเตยฺย อธิปฺปเตยฺย : (ปุ.) ความเป็นแห่ง ความเป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่ยิ่ง, อธิปไตย (อำนาจสูงสุด). วิ. อธิป- ติโน ภาโว อธิปเตยฺโย อธิปฺปเตยฺโย วา. ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ ที่ ติ เป็น เอ ลบ ณฺ ซ้อน ยฺ ศัพท์หลังลง ปฺสังโยค.
  14. อนนฺตร : ก. วิ. ต่อมา, ถัดมา, หลังจากนั้น
  15. อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
  16. อนฺวเทว : อ. ตามหลัง, ภายหลัง
  17. อนินฺทฺริย : (วิ.) ลับหลัง.
  18. อนุ : (อัพ. อุปสรรค)น้อย, ภายหลัง, ตาม, เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำ.ส. อนุ.
  19. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  20. อนุชน : (ปุ.) ชนภายหลัง, คนภายหลัง, คนรุ่นหลัง, อนุชน (คนรุ่นหลังๆ).
  21. อนุชาต : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในภายหลัง, ผู้เกิดตามมา.
  22. อนุฏฺฐุภ : (นปุ.) ความเดือดร้อนภายหลัง, ความเดือดร้อนในภายหลัง, ความเดือดร้อน, ความรำคาญ.
  23. อนุปญฺญตฺติ : (อิต.) การตั้งขึ้นภายหลัง, การบัญญัติภายหลัง, อนุบัญญัติชื่อของพระวินัยหมายถึงข้อห้ามซึ่งพระองค์ทรงห้ามเพิ่มเติมจากข้อห้ามเดิม.ข้อที่ทรงเพิ่มเติมภายหลัง.
  24. อนุปท : (นปุ.) บทน้อย, บทภายหลัง, บทตาม, อนุบท (บทลูกครู่บทรับของเพลง และกลอน).ส.อนุปท.
  25. อนุรถ : (นปุ.) ภายหลังแห่งรถ.วิ.รถสฺสปจฺฉาอนุรถํ.
  26. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  27. อปจฺฉปุริม : ค. ไม่ก่อนไม่หลัง
  28. อปทาน : (นปุ.) เว้นจากอันขาด (ไม่ขาด).ทาน+อปกลับบทหลังไว้หน้าทานสำเร็จรูปมาจากทาอวขณฺฑเน, ยุ.
  29. อปฺปอปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน.วิ.อเปสิอิสกมตฺตมคมาสีติอปฺปํ.อปฺปาปุณเน, โป.อลฺภูสเนวา, โป. ศัพทฺหลังกสกัด.ส.อลฺปก.
  30. อปฺป อปฺปก : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิด หน่อย, เบาบาง, ทราม, อ่อน. วิ. อเปสิ อิสกมตฺต มคมาสีติ อปฺปํ. อปฺ ปาปุณเน, โป. อลฺ ภูสเน วา, โป. ศัพทฺหลัง ก สกัด. ส. อลฺปก.
  31. อปมารอปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู.วิ.อปคโตสาโรเยนโสอปมาโรอปสฺมา-โรวา.ศัพท์แรก แปลงส เป็น มศัพท์หลังลงมฺอาคมท่ามกลาง.
  32. อปมาร อปสฺมาร : (ปุ.) โรคลมบ้าหมู. วิ. อปคโต สาโร เยน โส อปมาโร อปสฺมา- โร วา. ศัพท์แรก แปลง ส เป็น ม ศัพท์ หลังลง มฺ อาคม ท่ามกลาง.
  33. อปรณฺณ : (นปุ.) อปรัณชาตได้แก่อาหารอื่นจากข้าว มีถั่วงาเป็นต้นที่จะพึงกินภายหลังกินข้าวแล้ว.วิ.ปุพฺพณฺณาทิโตอปรภาเคปวตฺตมณฺณํอปรณฺณํ.
  34. อปรนฺตภาค : ป. อนาคตกาล, กาลภายหลัง
  35. อปรนฺตภาเค : ก.วิ. ในกาลภายหลัง, ในอนาคตกาล
  36. อปรภาค : (วิ.) อันเป็นส่วนอื่นอีก, ภายหลัง (กาล....).
  37. อภิชฺฌาลุอภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิชฌาเป็นปกติ.ศัพท์หลังกสกัด.
  38. อภิชฺฌาลุ อภิชฺฌาลุก : (วิ.) มีอภิชฌามาก, มีอภิ ชฌาเป็นปกติ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  39. อภินนฺทนาการ : (ปุ.) การทำด้วยความยินดียิ่ง, ความยินดียิ่ง.คำแปลหลังนี้การ เป็นศัพท์สกัด.
  40. อภิสงฺคอภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำแช่ง, คำด่า.อภิปุพฺโพ, สญฺชสงฺเค, อ.แปลงชเป็นค ญฺ เป็น งฺคำหลังซ้อนสฺ.
  41. อภิสงฺค อภิสฺสงฺค : (ปุ.) การแช่ง, การด่า, คำ แช่ง, คำด่า. อภิปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น งฺ คำหลังซ้อน สฺ.
  42. อรญฺชอรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม.อาปุพฺโพ, รชิวิชฺฌเน, อ, รสฺโสศัพท์หลังกสกัด.
  43. อรญฺช อรญฺชก : (ปุ.) อ่าง, กระถาง, ไห, ขวด, กระออม. อาปุพฺโพ, รชิ วิชฺฌเน, อ, รสฺโส ศัพท์หลัง ก สกัด.
  44. อลกฺกอฬกฺก : (ปุ.) สุนัขบ้า.อลฺ นิวารเณ, ณฺวุ.แปลงก (ซึ่งแปลงมาจาก ณฺวุ)เป็นกฺก.ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.เป็นอลํกโดยลงนิคคหิตอาคมและไม่แปลงกเป็นกฺกบ้างส.อลก.
  45. อลิอฬิ : (ปุ.) ผึ้ง, ตัวผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง, กา, นกเค้า, เหล้าหวาน.วิ.อรตีติอลิอฬิวา.อรฺคมเน, อิ, รสฺสลตฺตํ, ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.ส. อลิ.
  46. อวร : ค. ทีหลัง, ภายหลัง, หนุ่มกว่า
  47. อวหียติ : ก. ถูกทอดทิ้ง, ล้าหลังอยู่
  48. อวิทูอวิทสุ : (ปุ.) คนไม่รู้แจ้ง, คนเขลา, คนโง่, คนพาล.น+วิทฺ+รูปัจ.ศัพท์หลังสุปัจ.
  49. อสงฺขิย, - เขย : นป. อสงไขย, กาลที่นับไม่ได้, เลขจำนวนสูงจำนวนหนึ่งมีศูนย์ตามหลัง ๑๔๐ ตัว
  50. อสญฺญีวาท : ค. ผู้ยึดถือทิฐิว่าหลังจากตายแล้ว อัตตาไม่มีสัญญา
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-461

(0.0821 sec)