Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: หงายหลัง, หลัง, หงาย , then หงาย, หงายหลัง, หลง, หลํ, หลัง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : หงายหลัง, 461 found, display 51-100
  1. กิปุริส กิมฺปุริส : (ปุ.) บุรุษหรือ, คนหรือ. กึ + ปุริส. บุรุษน่าเกลียด, คนน่าเกลียด. กุจฺฉิต+ปุริส. สัตว์คล้ายบุรุษ, สัตว์คล้าย คน. กิ+ปุริส. ศัพท์หลังลง นิคคหิตอาคม. บุรุษอะไร ๆ วิ. กิญฺจิ ปุริโส กิมฺปุริโส. ดู กินฺนร ด้วย.
  2. กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
  3. กิริย กฺริย : (นปุ.) การทำ, ความทำ, อาการ (ท่าทาง), กิริยา, กริยา. วิ. กรณียํ กิริยํ. กิริยา วา กิริยํ. กรฺ ธาตุ ริริย ปัจ. ลบ รฺรฺ ของปัจ. รูปฯ ๕๘๕ ศัพท์หลัง ลบ อ ที่ ก และลบ อิ ตัวต้นของ ปัจ. หรือลง อิย ปัจ.
  4. กิโลม กิโลมก : (นปุ.) พังผืด. กิลฺ พนฺธเน, อุโม ศัพท์หลัง ก สกัด.
  5. กิส กิสล : (วิ.) ผอม, บาง, ซูบ, น้อย. กิสฺ ตนุกรเณ สาเน วา, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. กัจฯ ๖๗๓ วิ. กิตพฺพนฺติ กิสํ. กิ หึสายํ. อิส ปัจ. ศัพท์หลัง กิสฺ ธาตุ อล ปัจ.
  6. กุณป กุนป : (ปุ. นปุ.) ศพ, ซากศพ. กุณฺ สงฺโกจเน, โป, ออาคโม. ศัพท์หลังแปลง ณ เป็น น. ส. กุณป.
  7. กุณปาท กุณปาทก : (วิ.) ผู้กินซากศพ. กุณ ป ปุพฺโพ, อทฺ ภกฺขเณ, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  8. กุถ : (ปุ. นปุ.) เครื่องลาดหลังช้าง, ผ้าเครื่อง ลาด, ผ้าทำด้วยขนแกะ, ผ้าขนสัตว์, ผ้าสักหลาด. กปฺ สชฺชนายํ โถ, ปฺโลโป, อสฺส. ส. กุถ.
  9. กุทฺรุส กุทฺรุสก กุทรูส : (ปุ.) กับแก้, หญ้ากับ แก้. ชื่อไม้ล้มลุกชนิดหนึ่งใช้เป็นผัก. วิ. โกรํ รุธิรํ ทุสฺสตีติ กุทฺรุโส. โกรปุพฺโพ, ทุสฺ อปฺปีติยํ, อ, วณฺณปริยาโย, โอสฺสุตฺตํ. โกร+ทุสฺ+อ แปลง โอ เป็น อุ แล้วเปลี่ยน อักษรคือเอา ทฺ ไว้หน้า ร ศัพท์หลังทีฆะ.
  10. กุนฺตนิ กุนฺตนี กุนฺทติ : (อิต.) นกกระเรียน. กนฺตฺ เฉทเน, ยุ, อสฺสุ, อิตฺถิยํ อี. ศัพท์หลัง อ, ติ ปัจ. แปลง ต เป็น ท
  11. กุรุวินฺทก : ป. จุดสำหรับอาบ, แป้งผัดหน้าทาตัวหลังจากอาบน้ำแล้ว
  12. โกฏิล โกฏิลฺล โกฏิลฺย : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, บิดเป็นเกลียว. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิโล. ศัพท์ที่ ๒ แปลง ล เป็น ลฺล ศัพท์ที่ ๓ แปลง ล ตัวหลังเป็น ย.
  13. ขตฺตุ : ก. วิ. ครั้ง, (ใช้ต่อหลังศัพท์สังขยา เช่น ติกฺขตฺตุ = สามครั้ง)
  14. ขลก ขลุงฺก ขฬุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขฬุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
  15. ขาณุ ขานุ ขานุก : (ปุ. นปุ.) ตอ, ตอไม้, หลัก, หลักตอ. อภิฯวิ. ขญฺญติ อวทารียตีติ ขาณุ. ขณุ อวทารเณ, ณุ, ณสฺสา (แปลง ณ ตัวธาตุ เป็น อา). กัจฯ ๖๗๑ วิ. ขณิตพฺโพ อวทาริต- พฺโพติ ขาณุ ขานุ วา. กัจฯ และ รูปฯ ลง ณุ นุ ปปัจ. ตัวนี้ไม่ลบ ศัพท์หลังลง ก สกัด.
  16. ขิขิ ขิงฺขิร : (ปุ.) หมาจิ้งจอก, อาวุธพระอินทร์, เครื่องหอม. ขิ คติยํ, ขิปจฺจโย ศัพท์หลัง ลง นิคคหิตอาคม และ ลง ร ปัจ. ?
  17. ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  18. เขตฺตาชีว เขตฺตาชีวี : (ปุ.) ชาวนา (ผู้มีอาชีพ ทำไร่ทำนา), คนผู้เลี้ยงชีวิตด้วยที่ดิน. วิ. ตฺเตน ชีวตีติเขตฺตาชีโว. เขตฺตสทฺทุปฺปทํ, อาปุพฺโพ, ชีวฺ ปาณธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ลง อี ปัจ.
  19. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  20. คามิ คามี : (วิ.) ผู้มีการไปเป็นปกติ วิ. คมนํ สีล มสฺสาติ คามิ วา. ศัพท์แรกลง ฆิณฺ ปัจ. ลบ พยัญชนะเหลือแต่ อิ ศัพท์ หลังลง ณี ปัจ. รูปฯ ๖๓๑. อายตึ คมิตุ สีลํ ยสฺส โหตีติ คามี. กัจฯ ๖๕๑.
  21. คีเวยฺย คีเวยฺยก : (นปุ.) เครื่องประดับคอ, ผ้า พันคอ. วิ. คีวายํ ภวํ คีเวยฺยํ. คีวาย อาภรณํ วา คีเวยฺยํ คีเวยฺยกํ วา. เอยฺย ปัจ ศัพท์หลัง ลง ก สกัด. โมคฯ ลง เณยฺย เณยฺยก ปัจ.
  22. เคณฺฑุก : (ปุ.) ลูกคลี, ลูกคลีหนัง, ฟุตบอลล์ ตะกร้อหนัง, ตะกร้อ? , กลุ่ม. คุฑิ เวฐเน, คุทฺ กีฬายํ, ณุโก, อุสฺเส. ธาตุแรก ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น ณฺ ธาตุหลังแปลง ทฺ เป็น ณฺฑ.
  23. เคหปิฏฐิ : อิต. หลังบ้าน
  24. โควิส โควุสก : (ปุ.) วัวถึก วัวเถลิง ( วัวเปลี่ยว วัวหนุ่ม ). โค+วสุ (คะนอง). ศัพท์ต้นแปลง อุ เป็น อิ ศัพท์หลัง ก สกัด. มีต้นไม้ชนิด หนึ่งชื่อ วัวเถลิง จะหมายถึงด้วยหรือไม่ ?
  25. ฆณฺฑ : (ปุ.) กระดิ่ง, ฆ้อง, ระฆัง. ฆฑิ ฆฏฺฏเน, โฏ, นิคคหิตาคโม. ลบ ก ปัจ. ศัพท์หลัง อิ ปัจ.
  26. ฆณฺฑิ : (อิต.) กระดิ่ง, ฆ้อง, ระฆัง. ฆฑิ ฆฏฺฏเน, โฏ, นิคคหิตาคโม. ลบ ก ปัจ. ศัพท์หลัง อิ ปัจ.
  27. จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
  28. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  29. จงฺโกฏก จงฺโคฎก : (ปุ.) ผอบ (ตลับมีเชิง มี ยอด), หีบ, เตียบ (ตะลุ่มปากผายมีผ้า ครอบ สำหรับใส่ของกิน). กุฎฺ เฉทเน, โณ, สกตฺเถโก. เทว๎ภาวะ ก นิคคหิต- อาคม. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ค.
  30. จณฺฑ จณฺฑาล : (วิ.) หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ร้ายกาจ, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ขึ้งเคียด, ขึ้ง เคียดนัก, จัด, ฉุนเฉียว, โหด, เหี้ยม, โหดเหี้ยม, จฑิ จณฺฑนโกเปสุ. ศัพท์แรก อ ปัจ. กัจฯ และรูปฯ ลง ก ปัจ. ลบ ก ศัพท์หลังลง อล ปัจ.
  31. จตุตฺถภตฺต : นป. ภัตที่พึงบริโภคในวันที่สี่ (หลังจากที่ได้ถือพรตมาตลอดแล้วสามวัน), อาหารที่บริโภคทุกๆ สี่วัน
  32. จมุรุ จมูรุ : (ปุ.) กวาง, ชะมด. วิ. อูรุมฺหิ อติสยจมฺมยุตฺตตาย จมูรุ. อูรุ หรือ อูรุ (ขา) + จมฺม ลบ ม เสียตัวหนึ่ง แล้วกลับ บทหน้าไว้หลัง.
  33. จริตฺต จริตฺร : (นปุ.) ความประพฤติ. ศัพท์แรก ต. ปัจ. แปลง ต เป็น ตฺต ศัพท์หลัง ตฺรณฺ ปัจ. อิ อาคม.
  34. จริม, - มก : ค. อันสุดท้าย, อันหลัง
  35. จินฺตก จินฺตนก : (วิ.) ผู้นึก, ฯลฯ. ศัพท์แรก ณฺวุ ปัจ. ศัพท์หลัง ยุ ปัจ. ก สกัด.
  36. จุต จูต : (ปุ.) มะม่วง จุ จวเน, โต. จุติ อาเสว- นรกฺขเณสุ, อ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  37. จุมฺพฏ จุมฺมฏก จุมฺพตก : (นปุ.) เชิง, เชิงรอง, เครื่องรองภาชนะ, เทริด, เสวียน, รัดเกล้า ชื่อเครื่องประดับศรีษะเพื่อรัดผมที่เกล้าไว้ ให้แน่น, ของที่เป็นวงกลม, เครื่องสำหรับ รองของที่เทินไว้บนศรีษะ (ส่วนมากทำ ด้วยผ้าเป็นวงกลม). จุมฺพฺ วทนสํโยเค, อโฏ. สองศัพท์หลัง ก สกัดศัพท์สุดแปลง ฏ เป็น ต.
  38. เจฏ เจฏก : (ปุ.) คนใช้ ( เขาใช้ไป ), ทาส, บ่าว. จิฏฺ เจฏฺ วา เปสเน, โณ. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. เจฏก.
  39. เจล เจฬ เจลก : (นปุ.) ผ้า, ท่อนผ้า, แผ่นผ้า. จิลฺ วสเน, เจลุ คมเน วา, โณ ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. เจล, เจลก, ไจล.
  40. โจล โจฬ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. อถวา, จุ จวเน, โล, โฬ. ส. ไจล, โจล.
  41. ฉฏฺฐ ฉฏฺฐม : (วิ.) ที่หก วิ. ฉนฺนํ ปูรโณ ฉฏฺโฐ ฉฏฺฐโมวา.ฉ ศัพท์ ฐ ปัจ. ปูรณตัท. ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง แปลง ฉฏฺฐ เป็น ฉฏฺฐม รูปฯ ๓๙๑. สัททนีติว่า ลง ม สกัด. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๕๔ ลง ฎฺฐ, ฏฺฐม ปัจ.
  42. ฉฑฺฑก ฉฑฺฑนก : (ปุ.) คนผู้ทิ้ง. ฉฑฺฑฺ ฉฑฺฑเน, ณฺวุ, ยุ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
  43. ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
  44. ฉลายตน ฉฬายตน : (นปุ.) อายตนะหก. ฉ+ อายตน ลฺ อาคม ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  45. ฉวฑาหก ฉวฬาหก : (ปุ.) สัปเหร่อ (คนผู้ทำ หน้าที่เกี่ยวกับศพ คนผู้ทำหน้าที่เผาศพ) ฉวปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ณฺวุ, ทสฺส โฑ. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ฬ.
  46. ฉาค ฉาคล : (ปุ.) แพะ, แกะ. ฉบทหน้า คมฺ ธาตุ อปัจ. ลบ ม ศัพท์หลังไม่ลบ แปลง ม เป็น ล ทีฆะ อ ที่ ฉ. ส. ฉาค.
  47. ฉาป ฉาปก : (ปุ.) ลูกน้อย. ฉุปฺ สมฺผสฺเส, โณ, อุสฺสาตฺตํ (แปลง อุ เป็น อา) ศัพท์หลัง ก สกัด.
  48. ชงฺฆา : (อิต.) แข้ง วิ. ชายติ คมน เมตายาติ ชงฺฆา. ชนิ ปาตุภาเว, โฆ, นสฺส นิคฺคหีตํ (แปลง น เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ อีกเนื่องจาก ฆ อยู่หลัง). ส. ชงฺฆา ขา.
  49. ชณฺณุ ชณฺณุก : (นปุ.) เข่า, หัวเข่า. วิ. ชายติ คมน เมเตนาติ ชณฺณุ, ชนฺ ปาตุภาเว, ณุ. แปลง นฺ เป็น นฺน แล้วแปลงเป็น ณฺณ ศัพท์หลัง ก สกัด ใช้ ชนฺนุ เป็นส่วนมาก.
  50. ชลธิ ชลธี : (ปุ.) ประเทศผู้ทรงไว้ซึ่งน้ำ, ทะเล, มหาสมุทร. ศัพท์หลังทีฆะ. ส. ชลธิ.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-461

(0.0481 sec)