Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างสวยงาม, สวยงาม, อย่าง , then สวยงาม, อยาง, อย่าง, อยางสวยงาม, อย่างสวยงาม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างสวยงาม, 470 found, display 351-400
  1. อญฺชน : (ปุ.) พระเจ้าอัญชนะ พระนามพระเจ้าตาของพระพุทธเจ้า, ต้นอัญชัน มี๒ชนิด คือ เป็นไม้แก่นอย่าง ๑ เป็นไม้เถาอย่าง ๑.
  2. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  3. อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
  4. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  5. อญฺญถต : นป. ความเปลี่ยนแปลง, การเป็นอย่างอื่น, ความแตกต่าง
  6. อญญถตฺต : (นปุ.) ความเป็นโดยประการอื่น, ความเป็นอย่างอื่น.
  7. อญฺญถาภาว : (ปุ.) ความเป็นโดยประการอื่นความเป็นอย่างอื่น, ความแปรปรวน, ความเปลี่ยนแปลง, ความตรงกันข้าม, ความต่อสู้, วิปลาส.วิ.อญฺเญน ปกาเรนภาโว อญฺญถาภาโว.
  8. อฎฺปาน : (นปุ.) น้ำดื่มแปดอย่าง, น้ำสำหรับดื่มแปดอย่าง, เครื่องดื่มแปดอย่าง.
  9. อตฺต อตฺร : (ปุ.) กาย, ร่างกาย, ตน, ตู(ตัว), ตัว, ตัวเอง, ตัวตน (ร่างกายและใจ). วิ. ทุกฺขํ อตติสตตํ คจฺฉตีติ อตฺตา (ถึงทุกข์เสมอ).อาหิโตอหํมาโน เอตฺถาติวา อตฺตา (เป็นที่ตั้งของมานะ).สุขทุกฺขํ อทติ ภกฺขติ อนุภาวตีติวาอตฺตา(เสวยสุขทุกข์).ชาติชรามรณาทีหิอาทียเต ภกฺขียเตติวา อตฺตา (อันชาติชราและมรณะเป็นต้น เคี้ยวกิน).ภววภวํธาวนฺโตชาติชรามรณาทิเภทํ อเนกวิหิตํสํสารทุกขํอตติสตตํคจฺฉติปาปุณาติอธิคจฺฉตีติวาอตฺตา.อตฺหรืออทฺธาตุตปัจ.ถ้าตั้งอทฺ ธาตุ แปลงทเป็น ต หรือ แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ทฺศัพท์หลัง แปลง ต เป็น ตฺรลบที่สุดธาตุอตฺตศัพท์นี้ตามหลักบาลีไวยากรณ์เป็นเอก.อย่างเดียว ถ้าจะใช้เป็นพหุ. ต้องแปลซั้าสองหน หรือเขียนควบสองหนเช่น อตฺตโนอตฺตโนแต่คัมภีร์รูปสิทธิเป็นต้น แจกเป็นพหุ. ได้.แปลว่า จิตใจ สภาวะ และ กุสลธัมได้อีกอุ. อตฺตา หิกิรทุทฺทโมได้ยินว่าจิตแล(ใจแล) เป็นสภาพรักษาได้ยาก.แปลว่า หัวใจ อุ.ตถตฺตมีหัวใจเป็นอย่างนั้นมีพระทัยเป็นอย่างนั้น. แปลว่าปรมัตตะ หรือปรมาตมันตามที่ชาวอินเดียโบราณถือว่าเป็นสิ่งไม่ตาย รูปฯ๖๓๖ ลง มนฺ ปัจ. ลบ น.แปลง ม เป็น ต สูตรที่ ๖๕๖ ลง ต ตฺรณฺ ปัจ.ที่ลง ตฺรณฺปัจ.ลบที่สุดธาตุ แล้วลบณฺสฺอาตฺมนฺอาตฺมา.
  10. อติโธนจารี : ค. ผู้ไม่รู้จักประมาณ, ผู้เป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  11. อติวิย : (อัพ. อุปสรรค) เกินเปรียบ, เหลือเกินอย่างยิ่ง.
  12. อตีว : (อัพ. นิบาต) ดี, ยิ่ง, ดียิ่ง, ยิ่งนัก, เหลือเกิน, อย่างยิ่ง.
  13. อถ : (อัพ. นิบาต) ขณะนั้น, ครั้นนั้น, ลำดับนั้น, ถ้าว่า, ผิว่า, หากว่า, อนึ่งโสด, ทีนั้น, ทีหลัง, เมื่อนั้น, ว่าดังนั้น, อย่างนั้น, หรือ, แล, ในกาลนั้น, ในภายหลัง, ในกาลภายหลัง, เออก้อ. อถ ที่เป็น ลักขณวันตะ แปลว่าครั้นเมื่อความเป็นอย่างนั้น.เติม กิริยาสนฺเต (มีอยู่). รูปฯ ว่า ใช้ในอรรถแห่งคำถามบ้าง.
  14. อถโข : (อัพ. นิบาต) ครั้งนั้น, ครั้งนั้นแล, แต่, ถึงอย่างนั้น, ที่แท้, โดยแท้จริง, โดยแท้แล.
  15. อถวา : (อัพ. นิบาต) อีกอย่างหนึ่ง, อีกนัยหนึ่ง, หรือว่า.
  16. อธิปญฺญา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็นไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา.ชื่อของปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาดได้แก่มัคคปัญญา.
  17. อธิปญฺา : (อิต.) คุณชาติอันอาศัยซึ่งปัญญาเป็น ไป, คุณชาติอันเป็นไปอาศัยซึ่งปัญญา, ปัญ ญายิ่ง, ปัญญาอย่างสูง, อธิปัญญา. ชื่อของ ปัญญามีกำลังกำจัดกิเลสได้เด็ดขาด ได้แก่ มัคคปัญญา.
  18. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  19. อธิสีล : (นปุ.) คุณชาตอันอาศัยซึ่งศีลเป็นไป, คุณชาตอันเป็นไปอาศัยซึ่งศีล, (สีลสฺสอธิ-กิจฺจปวตฺตนํ)ศีลยิ่ง, ศีลอย่างสูงคือการรักษาอย่างประณีต.วิ.อธิกํสีลํอธิสีลํ.ส.อธิศีล.
  20. อโธคม : (ปุ.) อโธคมะชื่อลมในกายอย่างหนึ่งในหกอย่างคือลมพัดลงเบื้องต่ำ.วิ.อุจฺจารปสฺสาวาทีนํนีหรณวเสนอโธภาคํคจฺฉตีติอโธคโม.
  21. อนฺธพาล : (ปุ.) คนโง่, คนโง่ทึบ, คนโง่เพียงดังคนตาบอด, คนโง่อย่างตาบอด, คนปัญญาโง่ทึบ, คนอันธพาล, อันธพาล (คนเกะกะระราน).
  22. อนวรต : ก. วิ. อย่างมั่นคง, เนืองๆ
  23. อนวเสส : ก. วิ. อย่างไม่มีเหลือ
  24. อนุกรณ : (วิ.) ทำตาม, เอาอย่าง, เลียน(เอาอย่าง).
  25. อนุกโรติ : ก. ทำตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  26. อนุการี : ค. ผู้เลียนแบบ, ผู้เอาอย่าง
  27. อนุกุพฺพนฺต : กิต. ทำตาม, เอาอย่าง
  28. อนุตฺตร : (วิ.) ผู้ประเสริฐกว่าหามิได้, ไม่มีผู้ประเสริฐกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นยิ่งกว่า, ไม่มีบุญเขตอื่นจะยิ่งกว่า, ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, ประเสริฐสุด, สูงสุด. วิ. นตฺถิอุตฺตโรยสฺมาโสอนุตฺต-โร.นตฺถิตสฺสอนุตฺตโรติวาอนุตฺตโรส.อนุตฺตร.
  29. อนุตฺตรสมฺมาสมฺโพธิญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง, ญาณเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบอย่างยิ่ง.
  30. อนุตฺตริย : (วิ.) ดีเลิศ, ยิ่ง, อย่างยิ่ง, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, อนุตฺตร ศัพท์อิยปัจ.สกัด?
  31. อนุพนฺธ : (ปุ.) อักษรที่หายไปเช่นอิอุที่ติดมากับธาตุเมื่อเป็นรูปสำเร็จอิอุหายไป(คือ ลบ อิ อุ) เรียกอักษรอย่างนี้ว่าอนุพันธะ
  32. อนุวิธียติ : ก. เอาตาม, เอาอย่าง, เลียนแบบ
  33. อนุวิธียนา : อิต.การเลียนแบบ,การเอาอย่าง,การตามอย่าง
  34. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  35. อนุสิกฺขน : นป. การเอาอย่าง, การเจริญรอยตาม
  36. อเนกปสงฺค : (วิ.) มีความต้องการมิใช่อย่างเดียว, มีความปราถนามิใช่อย่างเดียว, หลายอย่างตามความต้องการ.
  37. อปฺปณิหิต : (ปุ.) อัปปณิหิตะชื่อวิโมกข์อย่างหนึ่ง.
  38. อปิจ : (อัพ. นิบาต) เออก็, ก็อีกอย่างหนึ่ง, อีกโสดหนึ่ง.
  39. อผาสุก : ก. วิ. อย่างไม่สบาย
  40. อพฺยยีภาว : (ปุ.) ความเป็นของคงที่, ฯลฯ, อัพยยีภาวะชื่อของสมาสอย่างหนึ่ง.
  41. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  42. อภิญฺญาณ : (นปุ.) ความรู้ยิ่ง, ความรู้อย่างสูง, เครื่องหมาย, รอย.
  43. อภิฐาน : (นปุ.) ฐานยิ่ง, ฐานะอย่างหนัก, อภิฐานะชื่อของความผิดสถานหนักมี๖อย่างคืออนันตริยกรรม๕ การปฏิญญาณรับถือศาสนาอื่นในขณะที่ครองเพศบรรพ-ชิตเป็นข้อที่ ๖.
  44. อภิธมฺม : (ปุ. นปุ.) ธรรมยิ่ง, ธรรมอย่างสูง, ธรรมอันประเสริฐ, อภิธรรมกล่าวด้วยเรื่องจิตเจตสิกรูปและนิพพานเป็นปิฎกที่๓.ส. อภิธรรม.
  45. อภิรุจิร : ค. ยินดีอย่างยิ่ง, น่าชอบใจยิ่ง
  46. อภิวินย : ป. วินัยชั้นสูง, การแนะนำอย่างดี
  47. อภูเตน : ก. วิ. อย่างไม่จริง
  48. อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
  49. อรณิก : (ปุ.) ตะบันไฟชื่อเครื่องมือทำให้เกิดไฟอย่างหนึ่งของโบราณรูปคล้ายตะบันหมากของคนแก่.
  50. อริยสจฺจ : (นปุ.) ความจริงอันประเสริฐ, ความจริงอย่างประเสริฐ, ความจริงอันยังปุถุชนให้เป็นพระอริยะ, ความจริงอันยังปุถุชนผู้ปฏิบัติตามมรรค ๘ ให้เป็นอริยะ, ความจริงของพระอริยะ, อริยสัจชื่อของหมวดธรรมหมวดหนึ่งซึ่งพระพุทธเจ้าตรัสรู้ มี ๔ข้อคือ ๑.ทุกข์๒. ทุกขสมุทัย๓. ทุกขนิโรธและ ๔. ทุกขนิโรธคามินีปฏิปทา.ไตร.๓๕/๑๔๔.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-470

(0.0452 sec)