Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างสวยงาม, สวยงาม, อย่าง , then สวยงาม, อยาง, อย่าง, อยางสวยงาม, อย่างสวยงาม .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างสวยงาม, 470 found, display 401-450
  1. อลมริย : ค. อย่างประเสริฐ, อย่างแท้จริง
  2. อวสฺส : (อัพ. นิบาต) แน่แท้, ด้วยแท้, อย่างแน่นอน.
  3. อวสฺสก : ก. วิ. อย่างแน่แท้, แน่นอน
  4. อวิจฺจ : ก. วิ. อย่างไม่ปกปิด, อย่างเปิดเผย
  5. อวิปริณามธมฺม : ป. ความไม่เปลี่ยนแปลง, ความไม่แปรไปเป็นอย่างอื่น
  6. อวิลมฺพิต : ก. วิ. อย่างรวดเร็ว, ไม่ชักช้า
  7. อสพฺพตฺถคามี : ค. ซึ่งไม่ให้สำเร็จประโยชน์ทุกอย่าง
  8. อสมนุคฺคาหิยมาน : ค. ยังไม่ถูกถามอย่างละเอียดถี่ถ้วน
  9. อสวต : ค. ไม่จำกัด, ไม่กำหนดลงอย่างแน่นอน
  10. อสิมล : นป. สนิมดาบ, วิธีขับไล่สนิมดาบ, (วิธีบำเพ็ญตบะอย่างหนึ่ง)
  11. อสุภนิมิตฺต : นป. อสุภนิมิต, เครื่องกำหนดหมายที่ทำให้เห็นว่าไม่สวยงาม
  12. อเสวนา : อิต. การไม่เสพ, การไม่คบค้าสมาคม, การไม่เอาอย่าง
  13. อโสภณ : ค. ไม่สวยงาม, น่าเกลียด
  14. อากปฺป : (ปุ.) มรรยาทอัน...กำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องกำหนดยิ่ง, มรรยาทเครื่องสำเร็จ, ความกำหนด, ความสำเร็จ.อาบทหน้ากปฺปฺธาตุในความกำหนดสำเร็จอ.ปัจ. การตกแต่งให้งาม, การตกแต่งให้สวยงาม, การแต่งตัวดี, อาการ, ท่าทาง. กปุธาตุในความอาจสามารถควรสมควรอหรือณปัจซ้อนปฺ.ส.อากลฺป.
  15. อากปฺปกิริยา : (อิต.) กิริยาเรียบร้อย, กิริยาสวยงาม.
  16. อาคม : (ปุ.) การมา, การมาถึง, นิกายเป็นที่มา, นิกายเป็นที่มาแห่งมรรคและผล, บาลี, พระบาลี, อาคม (การมาของอักษรคือการลงอักษรเป็นวิธีของบาลีไวยากรณ์อย่างหนึ่งศาสตร์ คัมภีร์มนต์ เวทมนต์).วิ.อาคมนํอาคโม.ส.อาคม.
  17. อาชว : ป. ตัณหาที่เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว
  18. อาทานคาหี : (วิ.) ผู้ถือเอาด้วยความยึดถือ, ผู้ถืออย่างแน่นแฟ้น.
  19. อานนฺตริก, - ริย : ค. (กรรมที่ให้ผล) ไม่มีระหว่าง, (กรรม) ที่ไม่ให้กรรมอย่างอื่นเข้ามาแทรก, ติดต่อ, สืบเนื่อง, ทันทีทันใด
  20. อามิส : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องล่อใจ, วัตถุเครื่องล่อใจ, สินบน, เหยื่อ, เหยื่อล่อ, เนื้อ (เนี้อสัตว์ต่างๆ ), อามิส ( ของกินอย่างใดอย่างหนึ่งวัตถุมีข้าวเป็นต้น ).วิ. อามียติอนฺโตปกฺขิปียตีติอามิสํ.อาปุพฺโพ, มิปกฺเขปน, สกฺปจฺจโย, กฺโลโป, สปจฺจโยวา.อถวา, มิสฺสทฺเทอามสเนวา, อ. ส. อามิษ.
  21. อายุตฺตก : (ปุ.) บุคคลผู้เรียกเก็บซึ่งส่วย, นายส่วย( ส่วยคือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงอีกอย่างหนึ่งคือ เงินที่เก็บจากชายซึ่งมิได้รับราชการเป็นทหารเงินรัชชูป-การก็เรียกปัจจุบันเลิกเก็บแล้ว ), เสมียน, เจ้าพนักงาน, เจ้าหน้าที่.อาปุพฺโพ, อุจฺสมวาเย, โต.แปลงจฺเป็นตฺ กสกัดคำแปลหลังอายุตฺตลงกสกัด.ส. อายุกฺตก.
  22. อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
  23. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  24. อาส ุ : (อัพ. นิบาต) พลัน, ฉับพลัน , เร็ว, รวดเร็ว, อย่างรวดเร็ว, ด่วน.
  25. อิตฺถ : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้, ประการนี้, ประการะนี้. ด้วยประการฉะนี้, ดังนี้, นี่แหละ, อิม ศัพท์ ถํ ปัจ. อัพ๎ยตัท. แปลง อิม เป็น อิ แปลง ถํ เป็น ตฺถํ หรือ ซ้อน ตฺ ก็ได้ กัจฯ ๓๙๙ รูปฯ ๔๐๖ ตั้ง วิ. ได้ตั้งแต่ ปฐมาวิภัติ ถึง สัตมีวิภัติ.
  26. อิตฺถตฺตา : (อิต.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ. ตา ปัจ. ภาวตัท ซ้อน ตฺ.
  27. อิตถนฺนาม : (วิ.) มีชื่ออย่างนี้, ฯลฯ. อิตฺถํ+นาม.
  28. อิตฺถนาม : ค. ชื่ออย่างนี้, มีชื่อว่าอย่างนี้
  29. อิตฺถภาว : (ปุ.) ความเป็นอย่างนี้, ฯลฯ.
  30. อิตฺถมฺภูต : (วิ.) ถึงแล้วซึ่งประการนี้, ถึงแล้ว ซึ่งอาการนี้, ถึงแล้วซึ่งความเป็นอย่างนี้. วิ. อิตฺถํ ภูโต ปตฺโตติ อิตฺถมฺภูโต. คำแปลหลัง วิ. อิตฺถตฺตํ ภูโตติ อิตฺถมฺภูโต. ลบ ตฺต.
  31. อิติวุตฺต : (วิ.) อันพระพุทธเจ้าตรัสแล้วอย่างนี้.
  32. อิติหีติห : (วิ.) เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาอย่างนี้ อย่างนี้, เป็นของอ้างว่าท่านว่ามาดังนี้ดังนี้, จริงอย่างนี้, จริงอย่างนี้อย่างนี้.
  33. อิติ อว : (อัพ. นิบาต) อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้.
  34. อินฺทธนุ : (นปุ.) รุ้ง, สายรุ้ง, รุ้งกินน้ำ. วิ. อินฺทสฺส สกฺกสฺส ธนุ อินฺทธนุ. ส. อินฺทฺร ธนุ. ไทยนำคำนี้มาใช้ตามรูปสันสกฤตว่า อนิทรธนู (ออกเสียงว่า อินทะนู) เป็นชื่อ ของเครื่องประดับบ่าทั้งสองข้าง เป็นผ้า เนื้อ เดียวกับเสื้อ เย็บติดกับเสื้อ รูปเรียวเล็กน้อย ด้านทางคอมีรูสำหรับร้อยลูกกระดุม อีกอย่างหนึ่ง ทำเป็นธนูแข็งติดเครื่องหมายยศทั้งสองข้าง. และเป็นชื่อของลายขอบ ที่เป็นกระหนก.
  35. อีทิส : ค. เช่นนี้, อย่างนี้
  36. อุชุ : ก. วิ. อย่างตรง, อย่างซื่อตรง
  37. อุทกปุญฺชนิ : (อิต.) กระบอกกรองน้ำ, ธัมกรก, ธมกรก ชื่อบริขารอย่าง ๑ ใน ๘ อย่างของ นักบวช.
  38. อุทฺเทส : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, การยกขึ้น ชี้แจง, การยกขึ้นอ้างอิง, การแสดง, การชี้แจง, การบรรยาย, การสวด, คำชี้แจง, คำอธิบาย, พระปาติโมกข์ ชื่อพระบาลีที่ ยกขึ้นสวดทุกกึ่งเดือน, อุเทศ คือ การจัด อย่างสังเขปรวมเป็นข้อ ๆ ไว้ การสอน หรือการเรียนพระบาลี. อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสนอติสชฺชเนสุ, โณ, ทฺสํโยโค. ส. อุทฺเทศ.
  39. อุทฺเทสิก : (ปุ.) การยกขึ้นแสดง, ฯลฯ, อุทเทส อุเทส (จัดอย่างหัวข้อที่ตั้งไว้ สังเขปรวม เป็นข้อ ๆ ไว้ การสอนหรือการเรียนบาลี). อุปุพฺโพ, ทิสฺ ปกาสเน, โณ, ทฺสํโยโค.
  40. อุทฺเทหก : ก. วิ. อย่างเดือดพล่าน
  41. อุทฺธจฺจ : (นปุ.) ความฟุ้งซ่าน, ความคิดพล่าน, อุทธัจจะ (ความคิดพล่านไปในอารมณ์ ต่าง ๆ อย่างเผลอตัว). วิ. อุทฺธํ หนตีติ อุทฺธโต. อุทิธํปุพฺโพ, หนฺ คติยํ, โต, หนสฺส โธ (แปลง หน เป็น ธ), อสรูปทฺวิตตํ (แปลง ธ เป็น ทฺธ และ ลบ ทฺธํ ที่บทหน้า). อุทฺธตสฺส ภาโว อุทฺธจฺจํ. ณฺย ปัจ. กัจฯ และ รูปฯ ลง ย ปัจ.
  42. อุปนิธาย : อ. อย่างเทียบเคียง
  43. อุปนิพนฺธน : นป. การเกี่ยวข้องกันอย่างใกล้ชิด, การรบเร้า
  44. อุปนิสฺสย : (ปุ.) ธรรมเป็นที่เข้าไปอาศัย, ธรรมเป็นอุปนิสัย, ฉันทะเป็นที่เข้าไป อาศัย, อุปนิสสัย อุปนิสัย คือความประพฤติเคยชิน เป็นพื้นมาแต่อดีตชาติ คุณ ความดีที่ฝังอยู่ใน สันดาน ซึ่งจะเป็นฐาน รองรับผลดียิ่ง ๆ ขึ้นไป หรือแววของจิต. ในอภิธรรม หมายเอา คุณความดีอย่างเดียว ส่วนคำนิสสัย นิสัย หมายเอาทั้งทางดีทางชั่ว. อุป นิ ปุพฺโพ, สิ สี วา สเย, อ.
  45. อุปมาน : (นปุ.) ความเปรียบ, ความเปรียบเทียบ. การเปรียบ, การเปรียบเทียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบ, คำเป็นเครื่องเปรียบเทียบ, อุปมา, อุปมาน. วิ. อุปมียเต เยน ตํ อุปมานํ. รูปฯ ๕๒๐ วิ. อุปมียติ เอเตนาติ อุปมานํ. อุปปุพฺโพ, มา ปริมาเณ, ยุ. อุปมาน ชื่อ ของการศึกษาอย่างหนึ่ง คือ การศึกษาจาก ข้อเท็จจริงที่เหมือนกันหลายอย่าง แล้วตั้งเป็นกฎเกณฑ์ขึ้น. ส. อุปมาน. อุปเมยฺย (ปุ.?) อุปไมย คือสิ่งที่จะหาสิ่งอื่น มาเปรียบเทียบได้ สิ่งที่เปรียบได้. ส. อุปเมย.
  46. อุภโต : (อัพ. นิบาต) สองข้าง, สองฝ่าย, สองอย่าง.
  47. อุภโตพฺยญฺชนก : (วิ.) มีเพศสองอย่าง คือทั้ง เพศชาย และเพศหญิงอยู่ในบุคคลคนเดียว กัน. วิ. อุภโตพฺยญฺชน มสฺส อตฺถีติ อุภโตพฺยญฺชน โก. ก สกัด ฉ. ภินนาธิกรณพหุพ. อุภโต ปวตฺตํ พฺยญชนํ ยสฺสอตฺถีติ อุภโตพฺยญชนโก. ไตร. ๔ / ๑๘๐.
  48. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  49. เอกจฺจ : (วิ.) หนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, บางคน, บางพวก, บางอย่าง, วังเวง, ไม่มีเพื่อน, โดดเดี่ยว, ฯลฯ. เอโก เอว เอกจฺโจ. เอก ศัพท์ จฺจ ปัจ.
  50. เอกฉนฺท : (วิ.) มีความพอใจอย่างเดียวกัน, มี ความมุ่งหมายอย่างเดียวกัน, มีความเห็น เป็นอย่างเดียวกัน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-470

(0.0652 sec)