Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งถิ่นฐาน, ถิ่นฐาน, ตั้ง , then ตง, ตงถนฐาน, ตั้ง, ตั้งถิ่นฐาน, ถนฐาน, ถิ่นฐาน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งถิ่นฐาน, 471 found, display 201-250
  1. นิเลนก : นป. ที่ตั้งภูมิลำเนา, ที่แอบแฝง, ที่ซุ่มซ่อน, ที่อาศัย
  2. นิวิฏฺฐ : ค. ตั้งมั่นแล้ว, มั่นคงแล้ว, อุทิศหรือสละแล้ว
  3. นิวิสติ : ก. ตั้งมั่น, มั่นคง
  4. นิเวส : ป. นิเวส, ที่อยู่อาศัย, ที่พัก, บ้านเรือน, การตั้งภูมิลำเนาอยู่
  5. นิเวสิต : ค. ซึ่งตั้งมั่น, มั่นคง
  6. นิเวเสติ : ก. ให้เข้าไป, ตั้งมั่น, มั่นคง
  7. นิหิต : กิต. เก็บ, รักษา, ฝัง, ตั้งไว้
  8. เนกายิก : ค. ผู้ตั้งอยู่ในนิกาย, ผู้ชำนาญนิกาย
  9. ปญฺญตฺติ : อิต. การตั้งขึ้น, การเรียก, ความคิด
  10. ปญฺญาเปติ : ก. บัญญัติ, ตั้งกฎ, ให้รู้, ประกาศ, ปูลาด
  11. ปฏฺฐปิต : กิต. (อันเขา) เริ่มตั้งไว้แล้ว, วางเป็นหลักแล้ว
  12. ปฏฺฐเปติ : ก. เริ่มตั้ง, แต่งตั้ง, วางเป็นหลัก, เริ่มต้น
  13. ปฏฺฐหติ : ก. เริ่มตั้ง, ตั้งขึ้น, เริ่มต้น
  14. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  15. ปฏิฏฺฐหติ : ก. ตั้งมั่น, ดำรงมั่น, ยืนมั่น
  16. ปฏิติฏฺฐติ : ก. ตั้งอยู่เฉพาะ, กลับตั้งขึ้น, ตั้งขึ้นอีก
  17. ปฏิปุจฺฉติ : ก. ย้อนถาม, ทวนถาม, ตั้งคำถาม
  18. ปฏิเสนิกตฺตุ : ป. ผู้กระทำความเป็นข้าศึก, ผู้ตั้งต้นเป็นศัตรู, ผู้สร้างศัตรู
  19. ปฏิเสนิกโรติ : ก. กระทำความเป็นข้าศึก, ตั้งต้นเป็นศัตรู, แก้แค้น
  20. ปณ : ป. ของตั้งพนัน, เงินเดิมพัน; เงิน, ทรัพย์สมบัติ, ค่าจ้าง, บำเหน็จ, การค้าขาย
  21. ปณิธาน : นป. การตั้งความปรารถนา, การตั้งใจแน่วแน่, การตัดสินใจเด็ดเดี่ยว
  22. ปณิธาย : อ. ตั้งไว้แล้ว, ดำรงไว้แล้ว, ตั้งความปรารถนาแล้ว, มุ่งหวังแล้ว
  23. ปณิหิต : กิต. (อันเขา) ตั้งไว้แล้ว, มุ่งแล้ว, ปรารถนาแล้ว
  24. ปติ : ๑. ป. ผัว, นาย, เจ้าของ; ๒. ค. เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นนาย, เป็นหัวหน้า ; ๓. อ. จาก ปฏิ ตอบ; ห้าม; ทวน; มั่น; หยุด ; เหมือน; ที่ตั้ง; ต่อหน้า; รู้ตลอด; กลับ, ทำอีก; เนืองๆ ; สรรเสริญ; เหตุ; ลักษณะ
  25. ปติฏฺฐหติ : ก. ตั้งมั่น, ดำรงอยู่
  26. ปติฏฺฐาตพฺพ : กิต. ควรตั้งมั่น, พึงดำรงอยู่
  27. ปติฏฺฐาน : นป. การตั้งมั่น, การดำรงอยู่; ที่พึ่ง, ที่อาศัย
  28. ปติฏฺฐาปิตุ : ค. ผู้ให้ดำรงอยู่, ผู้ให้ตั้งมั่น
  29. ปติฏฺฐาเปติ : ก. ให้ตั้ง, ให้ดำรงอยู่
  30. ปติฏฺฐิต : กิต. ตั้งมั่น, ดำรงอยู่แล้ว
  31. ปทภาชนิย : นป. บทภาชนีย์, บทที่จะต้องอธิบาย, บทตั้ง
  32. ปทภาชนีย : (นปุ.) ข้อความอัน...จำแนกไว้, บทภาชนีย์ คือบทที่ตั้งไว้เพื่อไขความบทที่ ต้องอธิบาย
  33. ปทหติ : ก. เริ่มตั้ง, ลงมือทำ, ทำความเพียร, พยายาม, เผชิญ, ต้านทาน, มุ่งไปข้างหน้า
  34. ปทหน : (นปุ.) อันตั้งอยู่, การตั้งอยู่, ความตั้งอยู่. ปปุพฺโพ, ทหฺ ธารเณ, ยุ.
  35. ปทุทฺธาร : ป. การยกบทขึ้นตั้งเพื่ออธิบาย
  36. ปพฺพต : (ปุ.) เขา ( เนินที่สูงขึ้นเป็นจอมเด่น ), ภู ( เขา เนินที่สูงขึ้นเป็นจอม ), ภูเขา. เวสฯ ๗๔๐ และอภิฯ วิ. สนฺธิสํขาเตหิ ปพฺเพหิ จิตฺตตา ปพฺพํ อสฺส อตฺถีติ ปพฺพโต. ต ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. หรือตั้ง ปพฺพฺ ปูรเณ, โต, ออาคโม. เป็น ปพฺพตานิ โดยเป็น ลิงควิปลาส บ้าง.
  37. ปพฺพตฏฺฐ : ค. ผู้ยืนอยู่บนภูเขา, ซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา
  38. ปพฺพตรฏฺฐ : นป. แคว้นซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา, ชื่อแคว้นหนึ่งซึ่งตั้งอยู่กลางแคว้นวิเทหะ
  39. ปยุตฺตก : ค., ป. ผู้ที่เขาประกอบขึ้น, ผู้ที่เขาแต่งตั้งขึ้น, ผู้ที่เขาใช้งาน; คนงาน, คนรับจ้าง, จารบุรุษ
  40. ปสาทนีย : ค. อันเป็นที่ตั้งแห่งเลื่อมใส, น่าเลื่อมใส
  41. ปุรตฺถิมทิสา : (อิต.) ทิศอันตั้งอยู่ในเบื้องหน้า. ทิศตะวันออก.
  42. ปุรตฺถิมทิสาภาค : (ปุ.) ฝั่งแห่งทิศอันตั้งอยู่เบื้องหน้า, ฝั่งทิศตะวันออก.
  43. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  44. ปุลสก : (ปุ.) ก้อนเส้า (ก้อนดินหรือก้อนอิฐก้อนหินที่เอามาตั้งเป็นหลักต่างเตาตั้งเป็นสามเส้าสำหรับต้มแกง). ปุลุสุ อุปทาเห, อ, สตฺเถ โก.
  45. เปมนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความปลื้ม, ฯลฯ, ชวนให้ปลื้ม ฯลฯ. เปม+อนีย ปัจ.
  46. ผรสุ : (ปุ.) พร้ามีด้าม, ผึ่ง, ขวาน, ขวานถาก. วิ. ปเร ชเน อุสาเปตีติ ผรสุ. ปรปุพฺโพ, สสุหึสายํ, อุ, ปสฺส โผ, สโลโป จ. หรือตั้ง สุธาตุในความเบียดเบียน. เป็น ปรสุ โดยไม่แปลง ป เป็น ผ บ้าง. ว่าเป็น อิต. ก็มี.
  47. ผลฏฺฐ : ค. ตั้งอยู่ในผล, มีความยินดีในมรรคผลที่ตนได้บรรลุ
  48. ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
  49. ผิย : (ปุ.) พาย, แจว, กรรเชียง. วิ. ผิยติ นาวา เอเตนาติ ผิโย. ผิ คมเน. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ อ ปัจ. นามกิตก์. หรือตั้ง ผา วุฑฺฒิยํ, อิโย. แปลง ผิ เป็น ปิ เป็น ปิย บ้าง.
  50. พฺรหฺมจริย : (นปุ.) ความประพฤติซึ่งธรรมอันประเสริฐ, ความประพฤติประเสริฐ, ความประพฤติเพียงดังพรหม, ความประพฤติเหมือนพรหม, ความหนักแน่น, ความตั้ง ใจมั่น, ทาน, อัปปมัญญา, สาสนะ, พรหมจรรย์ (การถือบวช การถือพรตเว้นเมถุนธรรม). ความสิ้นราคะ โทสะและโมหะ เป็นที่สุดของพรหมจรรย์ ไตร. ๑๙/๓๐/๙.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.0636 sec)