Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตั้งถิ่นฐาน, ถิ่นฐาน, ตั้ง , then ตง, ตงถนฐาน, ตั้ง, ตั้งถิ่นฐาน, ถนฐาน, ถิ่นฐาน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตั้งถิ่นฐาน, 471 found, display 251-300
  1. ภควนฺตุ : (ปุ.) พระผู้มีพระภาคเจ้า. ศัพท์นี้ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าเท่านั้น และใช้เป็น ๓ วจนะ คือ เอกวจนะ ท๎วิวจนะ และ พหุวจนะ ใช้เป็นพระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวงด้วย ที่เป็น อาลปนะ แปลว่า พระพุทธเจ้าข้า ได้. พระนามนี้มีอรรถมากตามธาตุ. ภชฺ เสวายํ ภาชเน จ ทาเน จ. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, วนฺตุ ปัจ. แปลง ช เป็น ค ถ้าตั้ง ภญฺชฺ ธาตุ พึงลบ ญฺ สังโยค. ไตร. ๒๙, ๓๐.
  2. ภนฺติ : (อิต.) ความไม่ตั้งลง, การหมุน, ความหมุน, ภมฺ อนวฏฺฐาเน, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบ มฺ.
  3. ภาวนา : (อิต.) คุณชาติเป็นเครื่องยังกุศลให้เกิด, คุณชาติเป็นเครื่องยัง...ให้เจริญ, ความมี, ฯลฯ, ภาวนา (สำรวมใจตั้งความปรารถนา การทำให้มีขึ้น ให้เป็นขึ้น ให้เจริญขึ้น การอบรมให้เจริญขึ้น). ภู สตฺตายํ, ยุ.
  4. ภูมิคต : ค. ตั้งอยู่บนพื้นดิน
  5. มจฺจุเธยฺย : (นปุ.) วัฏฏะเป็นที่ทรงแห่งมัจจุ, วัฎฎะเป็นที่ตั้งแห่งมัจจุ, บ่วงแห่งมัจจุ.
  6. มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
  7. มชฺฌตฺต : (ปุ.) ตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัธยัต, อุเบกขา. วิ. มชฺเฌ ฐโต อตฺตา สภาโว มชฺฌตฺโต.
  8. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  9. มชฺฌเทส : (ปุ.) ประเทศอันตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัชฌิมประเทศ, มัธยมประเทศ.
  10. มชฺฌนฺติก : (วิ.) มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, มีในท่ามกลางแห่งวัน.
  11. มชฺฌนฺติกสมย : (ปุ.) สมัยแห่งพระอาทิตย์มีเงาตั้งอยู่ในท่ามกลางแห่งวัน, เวลาเที่ยงวัน, เที่ยงวัน.
  12. มทนีย : (วิ.) เป็นที่ตั้งแห่งความเมา.
  13. มยูร : (ปุ.) นกยูง, วิ. มหิยํ รวตีติ มยูโร. มหิ+อูร ปัจ. แปลง ห เป็น ย. หรือตั้ง มยฺ คติยํ, อูโร. เป็น มยุร บ้าง.
  14. มลาคนฺธวิเลปนธารณมณฺฑนวิภูสนฏฺฐาน : (นปุ.) การทัดทรงและการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกม้าและของหอมและเครื่องประเทืองผิวอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว, ฐานะอันเป็นที่ตั้งแห่งการทัดทรงและการประดับและการตกแต่งด้วยดอกไม้และของหอมและเครื่องลูบไล้ (เครื่องย้อมเครื่องทา), การทัดทรงการประดับและการตกแต่งร่างกายด้วยดอกไม้ของหอมเครื่องย้อมเครื่องทาอันเป็นฐานะแห่งการแต่งตัว.
  15. มหานิกาย : (ปุ.) หมุ่ใหญ่, หมู่มาก, มหานิกาย เป็นคำเรียกคณะสงฆ์ไทยฝ่ายดั้งเดิม คำนี้เกิดขึ้นเมื่อตั้งคณะสงฆ์ธรรมยุตติกนิกายแล้ว จึงเรียาสงฆ์ที่มีอยู่ดั้งเดิมว่า มหานิกาย.
  16. มหาปธาน : (ปุ. นปุ.) ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้ใหญ่.
  17. มาติกา : (อิต.) แม่บท, หัวข้อ, หัวข้อใหญ่, ทางน้ำ, ทางน้ำไหล, ร่องน้ำ, ลำราง, เหมือง, คลอง, สิ่งเหล่านี้เป็นเหมือนแม่เพราะเป็นของตั้งอยู่ในความสำเร็จของปวงชน.
  18. มารเธยฺย : (นปุ.) ที่เป็นที่ตั้งแห่งมาร, ที่อันมารพึงทรงไว้, ที่อันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่ากิเลสวัฏเป็นที่ทรงแห่งมาร, วัฏฏะเป็นที่ตั้งแห่งมาร, บ่วงแห่งมาร.
  19. มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
  20. มิจฺฉาฐปิต มิจฺฉาปณิหิต : (วิ.) อัน...ตั้งไว้แล้วผิด, อัน...ตั้งไว้ผิดแล้ว.
  21. มิจฺฉาปณิหิต : ค. นำผิด, ตั้งตนไว้ผิด
  22. มิจฺฉาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตผิด, ความตั้งใจมั่นไปในทางที่ผิด, สมาธิผิด.
  23. มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
  24. มุจลินฺท มุจฺจลินฺท : (ปุ.) ต้นจิก, ไม้จิก. จุลฺ นิมฺมชฺชเน, อินฺโท. เท๎วภาวะ จุ แปลงเป็น มุ ศัพท์หลังซ้อน จฺ หรือตั้ง มุจลฺ สงฺฆาเต.
  25. มูล : (วิ.) เป็นที่ตั้ง, เป็นที่พึ่ง, เป็นที่อาศัย, เป็นต้น, เป็นเดิม, ใกล้, เป็นทุน, เป็นมูล, เป็นเหตุ, ใหญ่, มูลฺ ปติฏฺฐายํ, อ.
  26. มูลนิธิ : (ไตรลิงค์) ทรัพย์อันบุคคลเก็บไว้เป็นต้นทุน, มูลนิธิ ชื่อทรัพย์สินอันตั้งไว้เป็นทุนเก็บแต่ดอกผลมาใช้ในการกุศลหรือประโยชน์สาธารณะ ต้องจดทะเบียนตามกฏหมาย.
  27. ยาคุ : (ปุ.) ข้าวต้ม, ข้าวยาคู ชื่อขนมชนิดหนึ่งทำด้วยข้าวอ่อน คือ เกี่ยวเอารวงข้าวที่ยังเป็นน้ำนม คั้นเอาแต่น้ำนมใส่ภาชนะตั้งไฟเคี่ยว ใส่น้ำตาล เคี่ยวพอข้นเหนียวจึงยกลง มีกลิ่นหอม รับประทานอร่อย. ยา ปุณเน, คุ. มิสฺสเน วา, คุ, อุสฺสา.
  28. ยาคู : (ปุ.) ยาคู ชื่อตำแหน่งสมณศักดิ์พื้นบ้านของภาคอีสาน ชาวอีสานมีประเพณีแต่งตั้งภิกษุที่เป็นกำลังของศาสนาด้วยการสรงน้ำ สรงครั้งแรกได้รับสมญาว่า ยาซา สรงครั้งที่สองได้รับสมญาว่า ยาคู. ยชฺ เทวปูชายํ, อู. แปลง ช เป็น ค ทีฆะต้นธาตุ.
  29. ยุคล : (นปุ.) คู่. ยุชฺ โยเค, อโล. หรือตั้ง วิ. ยุ เค อลนฺติ ยุคลํ. แปลง ล เป็น ฬ เป็น ยุคฬ บ้าง.
  30. วคฺคพนฺธน : นป. การรวมกลุ่ม, การจัดตั้งพรรค
  31. วยฏฺฐ : ค. ผู้ตั้งอยู่ในวัย คือมีอายุมาก
  32. วาชเปยฺย : นป. ชื่อพิธีตั้งพราหมณ์เป็นหัวหน้าในวรรณะ, เครื่องบวงสรวง
  33. วิญฺญาณฏฺฐิติ : อิต. การตั้งอยู่ของวิญญาณ
  34. วิหิต : กิต. ตั้งไว้แล้ว, จัดแจงแล้ว
  35. วุฏฺฐหติ : ก. ตั้งขึ้น, ลุกขึ้น
  36. สจฺจกิริยา : อิต. การตั้งความสัตย์, การอธิษฐาน
  37. สญฺญต : ค. ซึ่งร้องเรียกกัน, ตั้งชื่อ
  38. สณฺฐปน : นป. การจัดให้เข้ารูป, การตั้งขึ้น
  39. สณฺฐเปติ : ก. จัดระเบียบ, ให้ตั้งขึ้น
  40. สณฺฐาติ : ก. ตั้งอยู่
  41. สณฺฐิต : กิต. ตั้งไว้แล้ว
  42. สณฺฐิติ : อิต. ความตั้งมั่น, ความมั่นคง
  43. สติปฏฺฐาน : นป. การตั้งสติ
  44. สนฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนเป็นที่ตั้งพร้อม, โรงรับแขก. สนฺถ สำเร็จรูปมาจาก สํ บทหน้า ถา ธาตุ อ ปัจ.
  45. สนฺนิกฺเขป : (ปุ.) การตั้งไว้, การวางไว้, สํ นิ ปุพฺโพ, ขิปิ คติยํ, โณ.
  46. สนฺนิเวส : (ปุ.) การตั้งลง, การตระเตรียม, การเข้าไป, การเข้าไปอยู่, ทรวดทรง, สัณฐาน, สํ นิ ปุพฺโพ, วิสฺ ปเวสเน, โณ.
  47. สนฺนิสิต : กิต. อาศัยแล้ว, ตั้งมั่นแล้ว
  48. สมฺมปฺปธาน : (นปุ.) ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้แล้วโดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลพึงตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรอันบุคคลตั้งไว้โดยชอบ, ความเพียรที่ตั้งไว้ชอบ. ต. ตัป. ความเพียรชอบ. วิเสสนบุพ. กัม. สมฺมา+ปธาน รัสสะ อา เป็น อ.
  49. สมฺมปฺปธานวิริย : (นปุ.) ความเพียรอัน...ตั้งไว้โดยชอบ, ฯลฯ.
  50. สมฺมาสมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่นแห่งจิตชอบ, ความตั้งใจมั่นชอบ, ความตั้งใจไว้ชอบ, ความตั้งใจชอบ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.0385 sec)