Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างเดียวกัน, เดียวกัน, อย่าง , then เดียวกัน, อยาง, อย่าง, อยางดยวกน, อย่างเดียวกัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างเดียวกัน, 471 found, display 201-250
  1. นาควตฺติก : ค. มีวัตรอย่างวัตรของนาค
  2. นาคาปโลกิต : นป. การเหลียวดูของช้าง (คือกลับทั้งตัว), ลักษณะอย่างหนึ่งของพระพุทธเจ้า
  3. นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ (๑) สิงฺคาร ความรัก (๒) กรุณา ความเอ็นดู (๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ (๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์ (๕) หสฺส ความร่าเริง (๖) ภย ความกลัว (๗) สนฺต ความสงบ (๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง (๙) รุทฺธ ความโกรธ
  4. นานปฺปการ นานปฺปการก : (วิ.) มีประการ ต่างๆ, นานัปการ (มีหลายอย่าง มีหลายประการ).
  5. นานาวิธ : (วิ.) มีอย่างต่างๆ, มีอหลายอย่าง.
  6. นายิกา : (อิต.) หญิงผู้นำ, หญิงผู้เป็นหัวหน้า, นายิกา (หญิงผู้เป็นนายก). ประเทศที่มี หญิงเป็นนายก ไม่ได้ใช้คำนี้ ใช้คำนายก เช่นเดียวกันกับชาย.
  7. นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
  8. นิกิณฺณ : ค. เก็บไว้อย่างมิดชิด, ซ่อนไว้, บังไว้
  9. นิกูชติ : ก. ร้องเสียงแหลม, ส่งเสียงร้องด้วยความยินดี, คุยอย่างสนุก
  10. นิจฺฉย : (ปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  11. นิจฺฉยน : (นปุ.) ความหนักแน่น, ความรู้สึกหนักแน่น, ความตัดโดยไม่เหลือ, ความประสงค์อันบุคคลตัดโดยไม่เหลือ, ความแน่ใจ, ความแน่นอน, การชี้ขาด, การตัดสิน. นิปุพฺโพ, จยฺ คมเน, อ, ยุ. แปลง จ เป็น จฺฉ ฉิทิ เทฺวธากรเณ วา. แปลง อิ เป็น อ แปลง ท เป็น ย ซ้อน จฺ อีกอย่างหนึ่ง ตั้งนิบทหน้า ฉิ ธาตุใน ความตัดแปลง อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย ซ้อน จฺ หรือ จิ ธาตุในความสะสม แปลง อิ แล้วแปลง จ เป็น จฺฉ. ส. นิรฺณย.
  12. นิชิคึสติ : ก. ปรารถนาอย่างแรงกล้า, อยากได้
  13. นิชิคึสิตุ : ค. ผู้ปรารถนาอย่างแรงกล้า, อยากได้
  14. นิติ : (อิต.) แบบ, แบบแผน, แบบอย่าง, กระบวน ขบวน (แบบแผน), ประเพณี, กฎหมาย, นิติ, นีติ, เนติ. นิ นเย, ติ.
  15. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  16. นิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือ, การตก ไปในระหว่าง, การไม่เปลี่ยนแปลง, การประชุม, ความตก, ความตกไป, ความไม่เปลี่ยนแปลง, นิบาต คือคำเรียก อัพยย- ศัพท์มี ป เป็นต้น อีกอย่างหนึ่งเรียก คัมภีร์ในพระพุทธศาสนา. นิปุพฺโพ, ปตฺ ปตเน, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นิปาต.
  17. นิพฺภร : ก. วิ. อย่างมากมาย, อย่างเร่าร้อน
  18. นิสมฺม : ก. วิ. อย่างใคร่ครวญ, อย่างเอาใจใส่, อย่างระมัดระวัง
  19. นิสมฺมการี : ค. ผู้ใคร่ครวญกระทำ, ผู้ทำอย่างใคร่ครวญ
  20. นิสฺเสส : ก. วิ. อย่างไม่มีส่วนเหลือ, หมด
  21. เนกาการ : ค. มากมายหลายอย่าง
  22. ปกติคมน : นป. การไปอย่างธรรมดา
  23. ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
  24. ปญฺจวิธ : ค. ห้าอย่าง
  25. ปญฺจาวุธ : ป. อาวุธห้าอย่าง (ดาบ, หอก, ขวาน, ธนู, ตะบอง)
  26. ปฏฺโฎลิ : นป. กะพล้อ, กระบอกตักน้ำปากแหลมอย่างปากพวยกา
  27. ปฏิวิสิฏฺฐ : ค. เฉพาะอย่าง, ซึ่งเป็นพิเศษ
  28. ปตฺตปิณฺฑิกงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภิกษุผู้มีการถือเอาอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันอาหารในบาตรเป็นวัตร, องค์แห่งภิกษุผู้ถือการฉันเฉพาะในบาตร เป็นวัตร, ปัตตปิณฑิกังคะ ชื่อธุดงค์อย่างที่ ๖ ในธุดงค์ ๑๓.
  29. ปทปรม : (วิ.) มีบทเป็นอย่างยิ่ง, ปทปรมะ ( โง่จนสั่งสอนไม่ได้ ) .
  30. ปโทส : (ปุ.) กาลอันเป็นเบื้องต้นแห่งราตรี, พลบค่ำ, เวลาพลบค่ำ. วิ. โทสาย รตฺติยา ปารมฺโภ ปโทโส. ลบ อารมฺภ แล้วแปร ป ไว้หน้า อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปทุสฺสันติ ยตฺถ สพฺพกมฺมานีติ ปโทโส. ปปุพฺโพ, ทุสฺ โทสเน, โณ.
  31. ปน : (อัพ. นิบาต) บางที, บางคราว, ก็, แต่, ก็ แต่ว่า, ฝ่ายว่า, ส่วน, ส่วนว่า, ถึงอย่างนั้น, ถึงกระนั้น, ถึงดังนั้น, อนึ่งโสด, ด้วยแท้, เหมือนอย่างว่า, สำหรับ, แล, เล่า.
  32. ปนฺถสกุณ : ป. ชื่อพิธีบูชายัญอย่างหนึ่งที่เขาทำการเซ่นสรวงแก่เทวดาเจ้าทาง (สันนิษฐานว่าของเซ่นได้แก่มนุษย์ที่เขาฆ่าแล้วนำมาย่างอย่างนก)
  33. ปนุนฺนปจฺเจกสจฺจ : ค. ผู้มีสัจจะเฉพาะอย่างอันตนบรรเทาเสียแล้ว, ละความยึดถือเฉพาะอย่างๆ ที่ว่า ‘อย่างนี้เท่านั้นจริง’ ได้แล้ว
  34. ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
  35. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  36. ปรมตฺต : (ปุ.) ตนอย่างยิ่ง. ปรม+อตฺต.
  37. ปรมตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์อย่างยิ่ง, เนื้อความอย่างยิ่ง, ความอย่างยิ่ง, ฯลฯ, อรรถอย่าง ยิ่ง, ปรมัตถ์ คือพระอภิธรรม.
  38. ปรมตฺถโต : อ. โดยปรมัตถ์, โดยความหมายอย่างสูงสุด, โดยความหมายที่จริงแท้
  39. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  40. ปรมตา : อิต. ความเป็นอย่างยิ่ง, ประมาณสูงสุด
  41. ปรมทุกฺกร : (วิ.) อัน...ทำได้โดยยากอย่างยิ่ง.
  42. ปรมวิสุทฺธสทฺธาพุทฺธิวิริยปฏิมณฺฑิต : (วิ.) ผู้ประดับประดาแล้วด้วยศรัทธาและปัญญา เป็นเครื่องตรัสรู้และความเพียรอันหมดจด อย่างยิ่ง.
  43. ปรมาณุ : (วิ.) น้อยอย่างยิ่ง.
  44. ปรมาภิเธยฺย : (นปุ.) ชื่ออย่างยิ่ง, ชื่อ, ปรมา- ภิไธย (ชื่อ ) ใช้เฉพาะพระเจ้าแผ่นดิน.
  45. ปสยฺห : อ. โดยอำนาจ, อย่างมีอำนาจ, อย่างมีกำลัง, โดยบังคับ
  46. ปาริสุทฺธิสีล : นป. ศีลอันบริสุทธิ์, ความเป็นอยู่อย่างบริสุทธิ์
  47. ปิลวติ, (ปฺลวติ) : ก. ว่ายน้ำ, ลอยน้ำ, เคลื่อนไหวไปมาอย่างรวดเร็ว, ลอยไป
  48. ปุณฺฑรีก : นป. ดอกบัวขาว; เสือลาย, ชื่อช้างประจำทิศอาคเนย์; มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน
  49. ปุถุคุมฺพ : ป. ผู้ชำนาญในศิลปะหลายอย่าง
  50. ปุถุภูต : ค. ซึ่งแผ่ออกไปอย่างกว้างขวาง
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.0358 sec)