Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างเดียวกัน, เดียวกัน, อย่าง , then เดียวกัน, อยาง, อย่าง, อยางดยวกน, อย่างเดียวกัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างเดียวกัน, 471 found, display 251-300
  1. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  2. เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
  3. ผรุส : (วิ.) ขรุขระ, หยาบ, หยาบคาย, อย่างหยาบ, ปอน, เศร้าหมอง.
  4. ผลิก : (ปุ.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
  5. ผลิกา : (อิต.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
  6. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  7. พกฺกุล : ป., นป. ปีศาจ, การเปล่งเสียงร้องอย่างน่ากลัว
  8. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  9. พฺยาโรสนา : (อิต.) ความกริ้วกราด (โกรธมาก), กราดกริ้ว เกรี้ยวกราด (ดุและด่าอย่างรุนแรงด้วยความโกรธ). วิ. อา ปุพฺโพ, รุสฺ โรสเน, ยุ.
  10. พฺรหฺมชาติ : (อิต.) พรหมชาติ ชื่อตำราหมอดูอย่างหนึ่ง มีกฏเกณฑ์การทำนายโดยเลข ๗ ตัว เป็นหลักใหญ่ ยังไม่ถึงขั้นโหราศาสตร์.
  11. พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
  12. พฺรหฺมวิหาร : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของพรหม, ธรรมเป็นเครื่องอยู่ของผู้ใหญ่, ธรรมเป็นเครื่องอยู่อย่างประเสริฐ, พรหมวิหาร ชื่อธรรมหมวดหนึ่ง มี ๔ ข้อ คือ เมตตา กรุณา มุทิตา อุเบกขา.
  13. พฺรหฺมุชฺชุคตฺต : ค. มีกายตรงเหมือนกายพรหม, มีท่าทางสง่างาม (ลักษณะอย่างหนึ่งในกายของมหาบุรุษ)
  14. พลิ : (ปุ.) ภาษี, อากร (ค่าธรรมเนียมอย่างหนึ่งซึ่งรัฐบาลเรียกเก็บ). วิ. พลนฺติ อเนนาติ พลิ. ปาณเน, อิ.
  15. พลิสมสิกา : อิต. การเกี่ยวด้วยเบ็ด, การทรมานกายอย่างหนึ่ง
  16. พหุธา : อ. โดยมาก, ส่วนมาก, หลายอย่าง
  17. พหุเภท พหุพฺเภท : (วิ.) มีชนิดมาก, มีอย่างมาก, มาก, ต่างๆ.
  18. พหุล : อ. อย่างมาก, บ่อยๆ
  19. พหุลาชีว : ค. มีความเป็นอยู่อย่างหรูหราฟุ่มเฟือย
  20. พหุวิฆาต : ค. มีความผิดหวัง, มีความคับแค้น, มีทุกข์อย่างใหญ่หลวง
  21. พาหุลฺย, พาหุลฺล : นป. ความอุดมสมบูรณ์, การเป็นอยู่อย่างฟุ่มเฟือย
  22. พาฬฺห : อ. อย่างแข็งแรง, อย่างมั่นคง, อย่างมากมาย, อย่างหนักแน่น
  23. พุนฺทิกาพทฺธ : (ปุ.) เตียงมีแม่แคร่เนื่องเป็นอันเดียวกันกับขา.
  24. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  25. ภวงฺค : (นปุ.) องค์แห่งภพ, ภวังค์ คือส่วนที่สืบต่อระหว่างปฏิสนธิกับจุติ อีกอย่างหนึ่ง คือภพของจิต ที่อยู่ของจิต.
  26. ภวงฺคจิตตฺ : (นปุ.) จิตเป็นองค์แห่งภพ, จิตตกลงสู่กระแสภวังค์, จิตเป็นภวังค์, ภวังคจิต คือ จิตตกลงสู่กระแสภวังค์ เป็นอยู่โดยไม่รู้สึกตัว สืบต่อไว้ซึ่งภพ บังเกิดติดต่อกันดุจกระแสน้ำไหล ทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่ อีกบรรยายหนึ่งจิตที่เกิดต่อจากปฏิสนธิ จิตทำหน้าที่รักษาภพชาติให้ดำรงอยู่เท่าที่อายุของสังขารจะอยู่ได้ในภพที่ปฏิสนธิ (เกิด) นั้น เกิดดับโดยไม่ขาดสายจนกว่าจะถึงจุติจิต (ตาย) จิตนั้นจะขาดจากภวังค์เมื่อขึ้นสู่วิถีรับอารมณ์ทางทวารทั้ง ๖ ก็ขาดจากภวังค์ เมื่อรับอารมณ์แล้ว จิตก็ตกกระแสภวังค์ต่อไป วนอยู่อย่างนี้.
  27. มตฺตกาสินี : (อิต.) หญิงอย่างดี, หญิงผู้ดี, นางโฉมงาม, มตฺตปุพฺโพ, กสฺ คติยํ, ณี, อินี จ.
  28. มโนคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปของใจ, ความไปของใจ, ความรู้แห่งใจ, ความสำเร็จแห่งใจ, แบบอย่างแห่งใจ, ความคิด.
  29. มหปริจาค : (ปุ.) การเสียสละอย่างใหญ่, การบริจาคใหญ่, มหาบริจาค.
  30. มหาภินิกฺขมน : (นปุ.) การก้าวออกอย่างยิ่งใหญ่, การก้าวออกเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่, การออกบวชเพื่อคุณอันยิ่งใหญ่, มหาภิเนษกรณ์ คือการเสด็จออกผนวชของพระโพธิสัตว์.
  31. มหาหิงฺคุ : (ปุ.?) มหาหิงคุ์ ชื่อของเครื่องยาอย่างหนึ่งซึ่งเป็นยางของต้นหิงคุ.
  32. มาส : (ปุ. นปุ.) เดือน (ระยเวลา ๓๐ วัน). วิ. สตฺตานํ อายุ มิณนฺโต วิย สียติ อนฺตํ กโรตีติ มาโส. มา (นับ)+สา ธาตุ ในความจบ. สุด อ ปัจ. มิณนฺต มาจาก มาธาตุ นา และ อนฺต ปัจ. แปลง นา เป็น ณา รัสสะ. อีกอย่างหนึ่งเป็น มสิ ปริมาเณ, โณ.
  33. มูควตฺต : (นปุ.) ความประพฤติใบ้, ความประพฤติเป็นคนใบ้, มูควัตร ชื่อวัตรของเดียรถีอย่างหนึ่ง คือ ประพฤติเป็นคนใบ้ไม่พูดจากัน.
  34. เมรุ : (ปุ.) เมรุ ชื่อภูเขากลางจักรวาล, ภูเขา เมรุ. วิ. มิณาติ สพฺเพ ปณฺณเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ. มิ หึสายํ, รุ. มินาติ รํสีหิ อนฺธการนฺติ วา เมรุ. ภูเขาเมรุ ภูเขาสุเมรุ เป็นภูเขาลูกเดียวกัน.
  35. ยงฺกิญฺจิ : (วิ.) อย่างใดอย่างหนึ่ง, ทุกชนิด.
  36. ยถตฺต : นป. ความเป็นจริง, ความเป็นอย่างนั้น
  37. ยถาการี : ค. ผู้มีปกติกระทำอย่างไร, อย่างที่เขาทำ
  38. ยถาตถ : (นปุ.) อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง.
  39. ยถาตถ : (อัพ. นิบาต) อย่างใดอย่างนั้น, อย่างไรอย่างนั้น, ตามจริง, จริง, แท้.
  40. ยถารูป : (วิ.) มีรูปอย่างไร, ตามแบบอย่างนั้น, เช่นนั้น.
  41. ยถาสุข : ก. วิ. ตามสะดวกสบาย, อย่างสะดวกสบาย
  42. ยาถาวโต : ก. วิ. โดยแน่นอน, โดยแน่แท้, อย่างจริงแท้
  43. ยาวกาลิก : (นปุ.) ของเป็นยาวกาลิก คือของที่ภิกษุรับประเคนได้เฉพาะเวลาเช้าถึงก่อนเที่ยง และฉันได้เช้าชั่วเที่ยงเท่านั้น ได้แก่ ข้าว อาหารทุกอย่าง.
  44. ยุทธวิธี : (ปุ.) แบบอย่างแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ, วิธีแห่งการต่อสู้กัน, ฯลฯ.
  45. เยภุยฺเยน : ก. วิ. โดยมาก, อย่างมาก
  46. รฏฺฐปุริส : (ปุ.) รัฐบุรุษ ชื่อบุคคลผู้ได้รับการยกย่องจากรัฐ เพราะเป็นผู้ที่มีความรู้ความสามารถและมีคุณธรรมในการบริหารบ้านเมืองเป็นอย่างสูง.
  47. รโห : อ. อย่างลับ ๆ , ในที่ลับ, ในที่เปลี่ยว
  48. วคฺคุวท : ค. ซึ่งพูดอย่างไพเราะ
  49. วิกุพฺพน : นป. การเปลี่ยนแปลงอย่างมหัศจรรย์
  50. วิธิ : ป. การทรงไว้อย่างวิเศษ; แบบ, กฎ, ธรรมเนียม
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.0396 sec)