Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: อย่างเดียวกัน, เดียวกัน, อย่าง , then เดียวกัน, อยาง, อย่าง, อยางดยวกน, อย่างเดียวกัน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : อย่างเดียวกัน, 471 found, display 301-350
  1. วิวิธ : ค. มีอย่างต่าง ๆ
  2. สพฺพ : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, ทั้งผอง, ทั้งเพ, ทุก, ทุกๆ, ทุกเมื่อ, ทุกอย่าง, สารพัด, สารพัน. วิ. สรติ ปวตฺตตีติ สพฺพํ. สรฺ คติยํ, โพ, รสฺส โพ. สพฺพติ ปวตฺตตีติ วา สพฺพํ. สพฺพฺ คติยํ, อ. ส. สรฺพ สรฺพฺพ สรฺว สรฺวฺว สรฺพ สรฺพฺพ.
  3. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  4. สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
  5. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  6. สมฺพหุล : ค. มากมาย, หลายอย่าง
  7. สมฺมน : (วิ.) มีใจร่วม, มีใจร่วมกัน, มีใจรวมกัน. ไทย สัมมนา ว่า การประชุมเพื่อปรึกษาหารือกันในดำเนินงานอย่างใดอย่างหนึ่ง.
  8. สมวย : (วิ.) มีวัยเสมอกัน, มีวัยร่วมกัน, รุ่นเดียวกัน, ปีเดียวกัน, สมวัย. สม+วย.
  9. สมาน : (วิ.) คล้าย, เช่นกัน, เช่นเดียวกัน, อันหนึ่งอันเดียวกัน, เป็นอันเดียวกัน, เสมอกัน, เท่ากัน. สมฺ เวลมฺเพ, ยุ. ส. สมาน.
  10. สรภญฺญ : (นปุ.) ความเป็นคืออันกล่าวด้วยเสียง, ธรรมอันบุคคลพึงกล่าวด้วยเสียง, สรภัญญะ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสำหรับสวดคำที่เป็นฉันท์ ชื่อทำนองสวดอย่างหนึ่ง. สร+ภณ+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. หรือ สร+ภณฺ+ณฺย ปัจ. นามกิตก์.
  11. สลฺลีน : กิต. เร้นอยู่, แอบ, หาที่อยู่อย่างเร้นลับ
  12. สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
  13. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  14. สหช : (ปุ.) ชนผู้เกิดร่วมกัน พี่น้องชาย(ท้องเดียวกัน). วิ. สห ชาโต สหโช. สหปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, กฺวิ ส. สหช.
  15. สหชาติ : (วิ.) ผู้เกิดร่วมกัน สหชาต (เกิดปีเดียวกัน เกิดปีร่วมกัน หรือเกิดร่วมวันเดือนปีเดียวกัน).
  16. สหธมฺม : (ปุ.) ธรรมอันเดียวกัน, สหธรรม.
  17. สาจริยก : ค. ผู้ร่วมอาจารย์เดียวกัน
  18. สามคฺคี : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้พร้อมเพรียงกัน, การรวมกำลัง, ความพร้อมเพรียง, ความพร้อมเพรียงกัน, ความปรองดอง, ความปรองดองกัน, ความรวมกำลัง, ความกลมเกลียว, ความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน. วิ. สมคฺคานํ ภาโว สามคฺคี. อิปัจ. ภาวตัท. รูปฯ ๓๗๒.
  19. สามเณร : (ปุ.) เหล่ากอแห่งสมณะ, สามเณร (ผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุ แต่สมาทานศีล ๑๐). วิ. สมณสฺส อปจฺจํ สามเณโร. เณร ปัจ. ในบทกลอนและภาษาพูดใช้ว่า “เณร” ได้.
  20. สามเณรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นเหล่ากอของสมณะ, หญิงผู้เป็นสามเณร, สามเณรหญิง, สามเณรี หญิงผู้ดำรงเพศอย่างภิกษุณีแด่สมาทานศีล ๑๐.
  21. สารกฺข : ค., ป. การรักษาอย่างดี, มีการรักษา
  22. สาราณิยกร : (ปุ.) สาราณิยกร ชื่อบุคคลผู้ดำรงตำแหน่งเจ้าหน้าที่ของสมาคมหรือสถาบันการศึกษา มีหน้าที่อย่างบรรณธิการ.
  23. สาลินี : (ปุ.) สาลินี ชื่อฉันท์อย่างหนึ่ง.
  24. สาลูก : (นปุ.) ไหล (รากของพืชบางอย่างซึ่งเลื้อยหรือชอนไปแตกเป็นหน่อ). เหง้า, เหง้าบัว. วิ. สลติ โภชนตฺต มฺปยาตีติ สาลูกํ. สลฺ คมเน, อุโก, ทีโฆ.
  25. สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
  26. สิโก : (ปุ.) เกียรติ, ยศ, เกียรติยศ, ชื่อเสียง, ความชื่นชม, ความสรรเสริฐ, คำสรรเสริญ, ฉันท์ (มีปฐยาวัตเป็นต้น). โศลก ชื่อคำประพันธ์สันสกฤต ๔ บาท เป็น ๑ บท เรียกว่า โศลก ๑ อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของคำสำหรับสวดสรรเสริญ. สิโลกฺ สงฺฆาต, อ.
  27. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  28. สิโรเวฐน : (นปุ.) ผ้าโพกหัว, จอม, มงกุฎ, เทริด (เครื่องประดับศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ยมีกรอบหน้า), อุณหิส (กรอบหน้า) มงกุฎา. วิ. สิรโส เวฐนํ สิโรเวฐนํ.
  29. สีหนาท : (ปุ.) อันบันลือเพียงดังว่าอันบันลือแห่งราชสีห์, การบันลือเพียงดังว่าการบันลือแห่งราชสีห์, การเปล่งเสียงองอาจ, การพูดอย่างองอาจ.
  30. สุกฺขวิปสฺสก : (วิ.) ผู้เห็นแจ้งในมรรคเครื่องยังกิเลสให้แห้ง, (พระอรหันต์) ผู้สุกขวิปัสสก (สำเร็จพระอรหันต์ด้วยการเจริญวิปัสสนาอย่างเดียว).
  31. สุเสน : (ปุ.) เล็บเหยี่ยวชื่อพรรณไม้อย่างหนึ่งมี ๒ ชนิด. วิ. สุฎฺฐุ สิโนตีติ สุเสโน. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สิ พนฺธเน, ยุ.
  32. เสตมฺพ : (ปุ.) มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน, มะม่วงหวาน. วิ. เสตวณโณ อมฺโพ เสตวณฺโณ. มะม่วงป่า สวายสอ ก็แปล.
  33. โสฑรา โสทริยา : (อิต.) พี่น้องหญิงท้องเดียวกัน.
  34. โสทร โสทริย : (ปุ.) พี่ชายท้องเดียวกัน, น้องชายเดียวกัน, พี่น้องชายท้องเดียวกัน. วิ. สมาโนทเร ชาโต ฐโต วา โสทโร โสทริโย วา, สมาน+อุทร+ณ, อิย ปัจ. แปลง สมาน เป็น ส เ ป็น ส+อุทร แปลง อุ เป็น โอ เป็น โสทร, โสทริย. ส. โสทร.
  35. โสทร, โสทริย : ค. ผู้เกิดร่วมท้องเดียวกัน
  36. หตฺถโกสลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาดในการงานอันบุคคลพึงทำด้วยมือ. หตฺถกมฺม+โกสลฺล ลบ กมฺม. หตฺถก มฺมโกสลฺล ก็แปลเช่นเดียวกันนี้.
  37. หยาณึก หยานึก : (นปุ.) ม้า ๓ ตัว (เป็นอย่างต่ำ) ตัวหนึ่งมีคน ๔ คน ชื่อ หยานิก (หมู่กึกก้องด้วยม้า), กองทัพม้า.
  38. หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
  39. หิริเวร : (นปุ.) เครือเขาหญ้านาง, เครือเถาหญ้านาง, เครือหญ้านาง, เถาหญ้านางชื่อเครือเถาสมุนไพรอย่างหนึ่ง. วิ. หิรินามิกาย เทวธีตาย สรีรโต สญฺชาตตฺตา หิริเวรํ.
  40. เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
  41. อกฺขณาเวธี : ป. นายขมังธนูผู้มีความชำนาญในการยิงศรอย่างสายฟ้าแลบ
  42. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  43. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  44. อกฺโขหิณี : (อิต.) อักโขหิณี เป็นชื่อของเสนา(ไพร่พล) อธิบายว่า ไม้ไผ่ ๖๐ มัดๆละ ๖๐ ลำอันเสนาผู้ไปอยู่ทำให้ป่นปี้ เสนาเช่นนี้ชื่อว่า อักโขหิณีอีกอย่างหนึ่งเป็น ชื่อของจำนวนเลขอย่างสูง คือเลข ๑ มีสูญ ๔๒ สูญ. เป็น อกฺโขภิณี อกฺโขภินี ก็มี.ส. อกฺเษาหิณี.
  45. อชฺฌาชีว : ป. ความเป็นอยู่อย่างเข้มงวด, วิถีชีวิต
  46. อชปาลก : (นปุ.) โกฐชื่อเครื่องสมุนไพรอย่างหนื่ง มีหลายชนิด.วิ.อตฺตโน ฉายูปคเตอเชปาเลตีติอชปาลกํ. อชปุพฺโพปาลฺรกฺขเณ, ณฺวุ.
  47. อญฺชน : (ปุ.) พระเจ้าอัญชนะ พระนามพระเจ้าตาของพระพุทธเจ้า, ต้นอัญชัน มี๒ชนิด คือ เป็นไม้แก่นอย่าง ๑ เป็นไม้เถาอย่าง ๑.
  48. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  49. อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
  50. อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-471

(0.0565 sec)