Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตื่นกลัว, ตื่น, กลัว , then กลว, กลัว, ตน, ตนกลว, ตื่น, ตื่นกลัว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตื่นกลัว, 503 found, display 251-300
  1. อพฺพตน : ป., ค. ความเป็นผู้ไม่มีวัตร, การทำลายกฎศีลธรรม, ผิดศีล
  2. อพฺภตฺตน : นป. เครื่องขัดสี, แปรง
  3. อภินิปาต, อภินิปาตน : นป. การตกทับ, การตกลงไป, การจู่โจม, การทำลาย
  4. อภินิพฺพตฺตน : นป. อภินิพฺพตฺติ, อิต. การเกิด, การอุบัติ
  5. อภินิมนฺตนตา : อิต. การนิมนต์, การเชื้อเชิญ, การกล่าวต้อนรับ
  6. อภิภายตน : นป. ฐานะหรือภาวะแห่งความมีอำนาจเหนือ
  7. อรญฺญายตน : นป. ผีป่า, ชัฏแห่งป่า
  8. อรณิมตน : นป. การสีไม้สองอันให้เกิดไฟ
  9. อากาสานญฺจายตน : (นปุ.) อากาสานัญจายตนะชื่อของอรูปฌานที่๑วิ. อากาสานญฺจํอายตนํอากาสานญฺจายตนํ.อากาสานญฺจํอายตนํอสฺสาติวาอากาสานญฺจายตนํ.
  10. อากิญฺจญฺญายตน : นป. อากิญจัญญายตนะ, ฌานที่มีการคำนึงว่าไม่มีอะไรเป็นอารมณ์, สภาวะแห่งความไม่มีอะไร
  11. อาปตน : นป. การตกไป, การหล่นไป
  12. อามนฺตน : (นปุ.) การเรียก, การร้องเรียก, การเชิญ, การเชื้อเชิญ, การบอกโดยการทำต่อหน้า, การบอกต่อหน้า.วิ.อภิมุขํกตฺวามนฺตนํอามนฺตนํ.ลบภิมุขเหลืออแล้วทีฆะ.
  13. อาวตฺตน : นป. ดู อาวตฺต
  14. อินฺทุรตน : นป. ไข่มุก
  15. อิสิปตน : นป. การตกไปของฤษี, ชื่อของสถานที่ที่พระพุทธองค์ทรงแสดงปฐมเทศนา
  16. อิสิปตนมิคทายวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ตกไปแห่ง ฤาษีและเป็นที่ให้อภัยแก่เนื้อ, ป่าเป็นที่อยู่ แห่งฤาษีและห้ามฆ่าสัตว์.
  17. อุปฺปตน : (นปุ.) การขึ้น, การเกิดขึ้น, การอุบัติ, ความขึ้น, ฯลฯ. อุปุพโพ. ปตฺ คติยํ, ยุ. ซ้อน ปฺ.
  18. อุปวตฺตน : ค. อันเป็นไป, อันเป็นที่แวะพัก
  19. อุพฺพฏฺฏน อุพฺพตฺตน : (นปุ.) การขัดสี. อุปุพฺโพ, วตฺต วตฺตเน, ยุ. ศัพท์ต้น แปลง ตฺต เป็น ฏฺฏ.
  20. ตาวตึสเทวโลก : ป. สวรรค์โลกชั้นดาวดึงส์; (โลกเป็นที่อยู่ของเทวดา ๓๓ ตน)
  21. ภคุ : (ปุ.) ภคุ ชื่อฤาษีผู้แต่งมนต์ตน ๑ ใน ๑๑ ตน วิ. ภํ นกฺขตฺตํ คจฺฉติ ชานาตีติ ภคุ, ภปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อุ. ลบที่สุดธาตุ. ภรตีติวา ภคุ. ภรฺ ภรเณ, คุ, รฺโลโป.
  22. อุทฺทสฺเสติ : ก. แสดง (ตน), แสดงตัว, ปรากฏตัว, เปิดเผย, แสดงความประสงค์
  23. กฏตฺตากมฺม : (นปุ.) กรรมอันตนทำแล้วพอ ประมาณ, กรรมอันตนทำแล้วในอดีตชาติ, กรรมสักว่าทำ.
  24. กตญฺญุ, - ญู : ค. ผู้รู้บุญคุณที่คนอื่นได้ทำแล้วแก่ตน
  25. กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
  26. กตญฺญู : (วิ.) ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำ แล้วแก่ตน โดยปกติ วิ. กตํ อุปการํ ชานาติ สีเลนาติ กตญฺญู. ผู้มีปกติรู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแก่ตน วิ. กตํ ชนิตุ   สีล มสฺสาติ กตญฺญู. ผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคล อื่นทำแล้วแก่ตน วิ. กตํ อุปการํ ชานาตีติ กตญฺญู. ผู้รู้คุณท่าน. กตปุพฺโพ, ญา  ญาเณ, รู.
  27. กตเวที : (วิ.) ยังบุคคลให้รู้ซึ่งอุปการะอัน บุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ยังบุคคลให้รู้ซึ่ง คุณอันบุคคลทำแล้วแก่ตน, ผู้ประกาศซึ่ง อุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ผู้ตอบแทน อุปการะของท่าน, ผู้ตอบแทนอุปการคุณ ของท่าน, ผู้สนองคุณท่าน, ผู้ตอบแทนคุณ ท่าน.
  28. กท : (วิ.) ผู้ให้ตน วิ. กํ เทตีติ กโท (คน ประมาท).
  29. กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
  30. กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
  31. กมฺมสฺสกตา : (อิต.) ความที่แห่งสัตว์เป็นผู้มี กรรมเป็นของตน.
  32. กมฺมสฺสกตาญ าณ : (นปุ.) ความรู้ในความที่ แห่งสัตว์เป็นผู้มีกรรมเป็นของตน.
  33. กมฺมสฺสกตาสทฺธา : (อิต.) ความเชื่อว่าสัตว์มี กรรมเป็นของตน. ตา ปัจ. สกัด.
  34. กย : (ปุ.) การซื้อ วิ. ก ยนํ กโย. กี ทพฺพวินิมเย, อ. กโย นาม ปรสฺส ธนํ คเหตฺวา อตฺตโน ธนสฺส ทานํ. การถือเอาสมบัติของคนอื่นแล้วให้ซึ่งทรัพย์ของตน ชื่อว่า การซื้อ.
  35. กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
  36. กายตปน : นป. การยังกายให้เร่าร้อน, การย่างตน
  37. กายวูปกาส : ป. การแยกตนออก, การหลีกออกจากหมู่
  38. กายสกฺขี : ค. ผู้มีตนเป็นพยาน, ผู้ยกตนขึ้นเป็นพยาน; ผู้บรรลุธรรมโดยยึดร่างกายเป็นเหตุ
  39. กายินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในกาย, ความเป็นใหญ่คือกาย, ความเป็นใหญ่ใน หน้าที่ของตนคือกาย?
  40. กาลกณฺณิ กาลกณฺณี : (ปุ.) คนมีหูดำ, คน ทำนิสัยของตนเหมือนสิ่งที่มีวรรณะดำ, คนกาลกรรณี, คนกาลกิณี.
  41. กึกรณีเยสุทกฺขตา : (อิต.) ความเป็นแห่งคนผู้ขยันในกิจการท. อันตนพึงทำด้วยอันถามว่าจะทำอะไร, ความเป็นผู้ขยันในกิจการทั้งปวง.
  42. โกมารพฺรหฺมจริยา : อิต. การประพฤติพรหมจรรย์เนื่องมาแต่ตนดำรงอยู่ในวัยเด็ก, พรหมจรรย์ที่ประพฤติสืบต่อมาตั้งแต่ยังเป็นเด็ก
  43. คุตฺตทฺวารตา : อิต. ความเป็นผู้มีทวารอันคุ้มครองแล้ว, การบังคับตนได้
  44. คุตฺตินฺทฺริย : ค. ผู้มีอินทรีย์อันคุ้มครองแล้ว, ผู้บังคับตนได้
  45. ฆนสญฺญา : (อิต.) ความสำคัญว่าเป็นก้อน, ความเห็นว่าเป็นตัวเป็นตน.
  46. จริยวส จริยาวส : (ปุ.) อำนาจแห่งจริยาอัน ตนพึงประพฤติ, อำนาจแห่งจริยะ, อำนาจ แห่งจริยา.
  47. จาคธน : นป. ทรัพย์คือจาคะ, ทรัพย์คือการให้ปันสิ่งของของตนแก่คนที่ควรให้ปัน (เป็นอริยทรัพย์อย่างหนึ่งในอริยทรัพย์เจ็ด)
  48. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  49. จาฏกมฺยตา : อิต. ความแกล้งประพฤติถ่อมตน, การประจบ, การสรรเสริญ, การเยินยอ
  50. จารปุริส : (ปุ.) บุรุษผู้เที่ยวไป, บุรุษผู้สอดแนม, แนวที่ห้า, จารบุรุษ (ผู้หาข่าวฝ่ายข้าศึกมา ให้ฝ่ายตน).
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-503

(0.0411 sec)