Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตื่นกลัว, ตื่น, กลัว , then กลว, กลัว, ตน, ตนกลว, ตื่น, ตื่นกลัว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตื่นกลัว, 503 found, display 351-400
  1. ปริณต : กิต. เปลี่ยนไปแล้ว, แปรไปแล้ว, สุกงอมแล้ว, แก่แล้ว, งอมแล้ว
  2. ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
  3. ปหาราท : ป. ชื่ออสูรตนหนึ่ง
  4. ปุพฺเพนิวาสญาณ : (นปุ.) ญาณเป็นเครื่องรู้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่แล้วในกาลก่อน. ฯลฯ.
  5. ปุพฺเพนิวาสานุสฺสติญาณ : (นปุ.) ความรู้เป็นเครื่องระลึกได้ซึ่งขันธปัญจกอันตนและสัตว์อื่นเคยอาศัยอยู่ในกาลก่อน, ฯลฯ. ศัพท์ทั้งสองนี้ เป็นชื่อของญาณที่ ๑ ในญาณ ๓ ซึ่งพระมหาบุรุษทรงบรรลุในยามแรกแห่งราตรีวันตรัสรู้.
  6. ปุริส : (ปุ.) ชาย, ผู้ชาย (ชาย), บุรุษ, คน, อาตมะ, มานพ, อาตมัน, จิต. วิ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ หทยํ ปูเรตีติ ปุริโส (ผู้ยังหทัยของมารดาและบิดาของตนให้เต็ม). ปุรฺ ปูรฺ วา ปูรเณ, อิโส. ถ้าตั้ง ปูรฺ ธาตุ พึงรัสสะ อู เป็น อุ. ปุ นิรยํ ริสตีติ ปุริโส (ผู้กำจัดนรก). เป็นความเชื่อของพราหมณ์ว่าลูกชายจะกำจัด คือป้องกันไม่ให้พ่อแม่ตกนรก. ปุ บทหน้า ริสฺธาตุในความกำจัด อ ปัจ. ปุริ อุจฺเจ ฐาเน เสตีติ ปุริโส (ผู้ดำเนินไปในฐานะสูง). ปุริปุพฺโพ, สิคติยํ, อ. อตฺตโน มาตาปิตูนํ มโนรถํ ปุเรตีติ ปุริโส.
  7. เปสิ : (ปุ.?) ไข่, ถั่วฝักยาว, ก้อนข้าว. เปสิ ชื่อปีศาจตนหนึ่ง ชื่อแม่น้ำสายหนึ่ง.
  8. ผลฏฺฐ : ค. ตั้งอยู่ในผล, มีความยินดีในมรรคผลที่ตนได้บรรลุ
  9. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  10. พุทฺธมามก : (นปุ.) ผู้ถือพระ พุทธเจ้าว่าเป็นของของเรา, ผู้ถือพระพุทธเจ้าว่าเป็นของเรา, ผู้ถือพระพุทธ ศาสนาว่าเป็นของเรา, ผู้ที่ประกาศตนว่าเคารพนับถือพระพุทธศาสนา.
  11. ภาวิตตฺต : (วิ.) ผู้มีตนอันให้เจริญแล้ว, ผู้มีตนอัน อบรมแล้ว. ภาวิต+อตฺต.
  12. มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  13. มชฺฌตฺต : (ปุ.) ตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัธยัต, อุเบกขา. วิ. มชฺเฌ ฐโต อตฺตา สภาโว มชฺฌตฺโต.
  14. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  15. มญฺญตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งตนเป็นผู้ถือตัวแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือตัว, ความเป็นผู้ถือตัว. มญฺญ-ต+ตฺต ปัจ.
  16. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  17. มหานรก : (ปุ.) นรกใหญ่, มหานรก. มหานรก มี ๘ ขุม คือ สัญชีวนรก ๑ กาฬสุตตนรก ๑ สังฆาตนรก ๑ โรรุวนรก ๑ มหาโรรุวนรก ๑ ตาปนรก ๑ มหาตาปนรก ๑ อวีจีนรก ๑
  18. มิคว : (ปุ.) ตนฆ่าเนื้อ, พรานเนื้อ. วิ. มิเคหนฺตีติ มิคโว. มิคปุพฺโพ, หนฺ หึสายํ, อ. แปลง หน เป็น ว. มิเค วนตีติ มิคโว. วนฺ พาธเน, กวิ. ลบที่สุดธาตุ.
  19. มิจฺฉาปณิหิต : ค. นำผิด, ตั้งตนไว้ผิด
  20. มิตฺต : (ปุ.) คนรักกัน, คนมีความเยื่อใยกัน, เพื่อน, มิตร. วิ. มิโนตี อนฺโตติ มิตฺโต. สพฺพคุเยฺหสุ มียตีติ วา มิตฺโต (ไว้วางใจในความลับ). มิ ปกฺขิปเน, โต, ทฺวิตฺตํ. มิชฺชตีติ วา มิตฺโต. มิทฺ สิเนหเน. มิทติ อตฺตนิ ปรนฺติ วา มิตฺโต (ผูกคนอื่นไว้ในตน). มิทฺ พนฺธเน. แปลง ทฺ เป็น ตฺ. ส. มิตฺร.
  21. เมธค : (ปุ.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  22. เมธคา : (อิต.) ภาวะอันย่ำยี นิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ธรรมชาติอันย่ำยีนิสสัยของตนและย่ำยีคนอื่นไป, ความทุ่มเถียง, ความทะเลาะ, ความวิวาท, ความผิดพ้อง, ความร้าวฉาน, ความร้าวราน, ความมั่นหมาย, ความหมายมั่น, ความอาฆาต, ความอาฆาตมาดร้าย, กลหธรรมอันไปจากเมธา. เมธ+คมฺ ธาตุ กวฺ ปัจ.
  23. ยถานุภาว : ก. วิ. ตามกำลังแห่งตน, ตามความสามารถของตน
  24. ยถาปสาท : ก. วิ. ตามความเสื่อมใสแห่งตน
  25. ยถาพล : ก.วิ. ตามกำลังแห่งตน
  26. ยถาสก : ค., ยถาสกํ ก.วิ. ตามความป็นของของตน
  27. ยถาสตฺตึ : ก. วิ. ตามสติกำลังของตน
  28. ยถาสทฺธ : ก. วิ. ตามศรัทธาของตน, ตามความเชื่อของตน
  29. ยถิจฺฉต : ก.วิ. ตามความพอใจของตน
  30. ยถิจฺฉิต : (วิ.) อันตนปรารถนาแล้วอย่างไร.
  31. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  32. วสี : ค. ผู้มีอำนาจ, ผู้ชนะตน
  33. เวปจิตฺติ : ป. ชื่ออสูรตนหนึ่ง
  34. : อ. กับ, เป็นไปกับ, ของตน
  35. สกฺกาย : ป. กายของตน
  36. สกฺกายทิฏฺฐิ : อิต. ความยึดถือว่ากายของตน
  37. สกพล : นป. กำลังของตน, คำข้าวในปากของตน
  38. สกมฺม : นป. การงานของตน
  39. สกวาที : ป. ผู้กล่าวถ้อยคำฝ่ายตน
  40. สกิจฺจ : นป. ธุระของตน
  41. สกีย : ค. ของแห่งตน
  42. สจฺฉนฺท : ป. ความพอใจของตน
  43. สจิตฺต : นป. จิตของตน
  44. สทตฺถ : ป. ประโยชน์ของตน
  45. สทาร : ป. ภรรยาของตน
  46. สนฺตุฏฺฐ : กิต. ยินดีแล้วด้วยของของตนที่มีอยู่
  47. สนฺตุฏฺฐิ : อิต. ความยินดีในของของตน
  48. สนฺทิฏฐปรามาสี : (วิ.) ผู้มีความถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้มีความยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นในความเห็นของตน, ผู้ยึดมั่นในความเห็นของตน, ผู้ถือมั่นแต่ความเห็นของตน, ผู้ยึดถือแต่ความเห็นของตน, ผู้ดื้อรั้น.
  49. สนฺธน : นป. ทรัพย์ของตน
  50. สนฺนิเกต : (ปุ.) บ้านของตน, เรือนของตน, ส+นิเกต ซ้อน นฺ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-503

(0.0475 sec)