Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตื่นกลัว, ตื่น, กลัว , then กลว, กลัว, ตน, ตนกลว, ตื่น, ตื่นกลัว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตื่นกลัว, 503 found, display 401-450
  1. สปชาปติก : ค. กับภรรยาของตน
  2. สปฺปาย : (วิ.) เหมาะสมแก่ภาวะของตน, สำราญ, สบาย (อยู่ดี ไม่มีทุกข์). สภาว+ปาย.
  3. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  4. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  5. สมฺปวงฺก : (ปุ.) บุคคลผู้ยังตนให้เงื้อมไป, บุคคลผู้คล้อยตาม, เพื่อน. สํ ปปุพฺโพ, วกิ คติยํ, อ.
  6. สมฺผปฺปลาป : (วิ.) (วจีประโยค) เป็นเครื่องกล่าวซึ่งคำอันทำลายเสียซึ่งประโยชน์, เป็นเครื่องกล่าวซึ่งถ้อยคำอันไม่เป็นประโยชน์แก่ตนและผู้อื่น, กล่าวซึ่งคำอันโปรยเสียวซึ่งประโยชน์, กล่าวคำเพ้อเจ้อ. วิ. สมฺยํ นิรตฺถกํ ปลปติ เปเตนาติ สมฺผปุปลาโป. สมฺผปุพฺโพ, ปปุพฺโพ จ, ลปุ วจเน, โณ. ปสํโยโค.
  7. สมฺมตตนิยาม : (ปุ.) การกำหนดซึ่งตนโดยชอบ, ความพิจารณาซึ่งตนโดยชอบ, ความกำหนดพิจารณาตนโดยชอบ. สมฺมา+อตฺต+นิยาม.
  8. สมาทานวิรติ : (อิต.) การงดเว้นด้วยการสมาทาน, การงดเว้นจากการล่วงศีลด้วยการสมาทาน, เจตนางดเว้นด้วยการเปล่งคำสมาทาน, เจตนาเป็นเครื่องงดเว้นด้วยการสมาทาน, สมาทานวิรัติ(เจตนางดเว้นจากการล่วงศีลซึ่งตนได้สมาทานไว้แล้ว).
  9. สมานตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลเป็นผู้มีตนเสมอ, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอ, ความเป็นคนมีตนเสมอไม่ถือตัว.
  10. สยมติ : ก. สำรวม, บังคับใจตน
  11. สรณคมน : (นปุ.) การถึงซึ่งที่พึ่ง, การถึงสรณะ, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นที่พึ่ง, การถึงพระรัตนตรัยว่าเป็นสรณะ, สรณคมน์ คือการรับเอาพระรัตนตรัยได้แก่พระพุทธ พระธรรมและพระสงฆ์ว่าเป็นที่พึ่งที่ระลึกเป็นการปฏิญญาณตนว่าเป็นอุบาสก อุบาสิกานับถือพระพุทธศาสนา.
  12. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  13. สานิ : (วิ.) นี้แห่งตน, นี้ของตน.
  14. สาหุตฺถิกปโยค : (ปุ.) ประโยคที่ประกอบด้วยมือของตน, ฯลฯ, ประโยคที่ทำเอง. การรักษาศีล จะเป็นศีล ๕ ศีล ๘ หรือศีล ๑๐ ก็ตาม ตั้งแต่สิกขาบทที่ ๓ เป็นต้นไป เป็นสาหัตถิประโยค ทำเองศีลจึงขาด ใช้ให้เขาทำศีลตนเองไม่ขาด.
  15. สาฬสฺถิก : (วิ.) ประกอบด้วยมือของตน, เกิดแล้วด้วยมือของตน, ทำด้วยมือของตน, ทำด้วยมือของตน. สหตฺถ+ณิก ปัจ.
  16. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  17. สุเมธ : (ปุ.) คนมีปัญญาดี, นักปราชญ์, สุเมธะ ชื่อฤาษีตนหนึ่ง, พระสุเมธะ พระนามของพระพุทธเจ้าพระองค์หนึ่ง.
  18. เสนาสนฺตฎฺฐ : (วิ.) ผู้ไม่ยินดีแล้วในสมบัติของตน, ไม่ยินดีแล้วด้วยราชสมบัติของพระองค์. ส+อิน(สมบัติ)+อสนฺตุฎฺฐ.
  19. เสริ : อิต. ความพอใจของตน, ความเป็นใหญ่แก่ตน
  20. เสริจารี : ป. ผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  21. เสริตา : อิต. ความเป็นผู้ประพฤติตามความพอใจตน
  22. เสริวิหารี : ค. ผู้อยู่ตามความพอใจของตน
  23. หุ หุกชาติก : (ปุ.) หุงหุกชาติกะ ชื่อพราหมญ์ตนหนึ่ง มักตวาดผู้อื่นว่า หึหึ.
  24. อกิจฺจการ : ค. ผู้ไม่ทำตามหน้าที่ของตน, ผู้ทำสิ่งที่ไม่ควรทำ,ไม่มีผล (ยา).
  25. องฺครกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ป้องกันองค์พระมหากษัตริย์, บุคคลผู้รักษาตัว (หมายถึงตัวของบุคคลอื่นที่ตนมีหน้าที่ไปรักษาป้องกัน).ส. องฺครกฺษ.
  26. องฺคีรส : (วิ.) ผู้มีองค์เป็นแดนซ่านออกแห่งรัศมี, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากอวัยวะ, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตน, ผู้มีรัศมีอันซ่านออกจากตนดังเปลวไฟ.วิ. องฺคมฺหิ กาเยรโส รํส ทิปฺปเต ยสฺสาติ องฺคีรโส. ณ ปัจ.ตทัสสัตถิตัท. อี อาคม.
  27. อชฺฌตฺต : (วิ.) อันเป็นไปทับซี่งตน, อันเป็นไปในภายใน, ทับตน, เฉพาะตัว, ส่วนตัวภายใน, อาศัยซึ่งจิตเป็นไป. แปลอตฺตว่าจิต.
  28. อชฺฌตฺตนิลกสิณาทิรูปชฺฌานวส : (ปุ.) อำนาจแห่งการเพ่งซึ่งรูปมีกสิณอันบัณฑิตกำหนดแล้วด้วยสีเขียวอันเป็นไปทับซึ่งตนเป็นต้น.
  29. อชฺฌาคาเร : ก.วิ. ภายในบ้านของตน
  30. อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
  31. อตฺตกาม : ป. ความรักตน
  32. อตฺตกิลมถ : ป. การทรมานตน, การทำตนให้ลำบาก
  33. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  34. อตฺตคุตฺต : ค. ผู้คุ้มครองตน, ผู้มีตนอันคุ้มครองแล้ว
  35. อตฺตคุตฺติ : อิต. การรักษาตน, การระวังตน
  36. อตฺตช : ป. บุตร, ลูก, ผู้เกิดจากตน ; ผู้เกิดจากตน
  37. อตฺตชอตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน.วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา.อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺรลบ ตฺ สังโยค. รูปฯลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  38. อตฺตช อตฺรช : (ปุ.) ชนผู้เกิดแต่ตน, ลูกของตน. วิ. อตฺตโน ชาโต อตฺตโช อตฺรโช วา. อภิฯ แปลง ต เป็น ตฺร ลบ ตฺ สังโยค. รูปฯ ลง ตฺรณฺ ปัจ. รูปฯ ๕๗๐ ตั้ง วิ. เป็น ปญฺจ. ตัป. ช มาจาก ชนฺ ธาตุ กวิ ปัจ.
  39. อตฺตตฺถ อตฺตทตฺถ : (ปุ.) ประโยชน์ของตน, ประโยชน์ตน.อตฺต+อตฺถศัพท์หลังลงทฺ อาคม.
  40. อตฺตทตฺถ : ป. ประโยชน์ตน, ความสุขของตน
  41. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตนวิ. อตฺตาอิติทิฏฺฐิอตฺตทิฏฺฐิ.
  42. อตฺตทิฏฺฐิ : (อิต.) ความเห็นว่าเป็นตน วิ. อตฺตาอิติ ทิฏฺฐิ อตฺตทิฏฺฐิ
  43. อตฺตนฺตป : ค. ทำตนให้เร่าร้อน, ทรมานตน
  44. อตฺตนิย : (วิ.) เกิดแล้วในตน, เกิดแล้วแต่ตน, เกิดในตน, เกิดแต่ตน, เนื่องด้วยตน, นี้ของตน, วิ. อตฺตนิ ชาโต อตฺตนิโย. อตฺตนา ชาโตอตฺตนิโย, อตฺตโน อิทนฺติ ยตฺตนิยํ. อิย ปัจ.ชาตาทิตัท.นฺอาคม.โมคฯขาทิกัณฑ์ลง นิย ปัจ.
  45. อตฺตโนปท : (นปุ.) บทเพื่อตน. ฉ. ตัป.
  46. อตฺตโนมติ : (อิต.) ความคิดของตน, ความเห็นของตน, อัตโนมัติ อัตโนมัติ (ความเห็นส่วนตัว ความเห็นโดยลำพังตน คือ เป็นไปในตัวของมันเอง).
  47. อตฺตปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะตน, การมีตัวตน
  48. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  49. อตฺตวาท : ป. วาทะว่ามีตน, ทฤษฎีว่าด้วยเรื่องวิญญาณ
  50. อตฺตวาทุปาทาน : (วิ.) ผู้ถือมั่นในวาทะว่ามีตัวตน.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-503

(0.0317 sec)