Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ตื่นกลัว, ตื่น, กลัว , then กลว, กลัว, ตน, ตนกลว, ตื่น, ตื่นกลัว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ตื่นกลัว, 503 found, display 451-500
  1. อตฺตวินิปาต : (ปุ.) การตกไปโดยไม่เหลือวิเศษซึ่งตน, การยังตนให้ตกไป, การทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย.
  2. อตฺตวินิปาตกมฺม : (นปุ.) การยังตนให้ตกไปโดยไม่เหลือวิเศษกรรมคือการทำลายซึ่งตน, การฆ่าตัวตาย, อัตวินิบาตกรรม.
  3. อตฺตสมฺภว : (วิ.) มีตนเป็นแดนเกิดก่อน, เป็นแดนเกิดพร้อมแห่งตน, อันเกิดในตน.
  4. อตฺตสมฺภูต : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วในตน, เกิดขึ้นในตน, เกิดในตน.
  5. อตฺตสมฺมาปณิธิ : (นปุ.) การตั้งไว้ซึ่งตนโดย-ชอบ, ความตั้งไว้ซึ่งตนโดยชอบ, การตั้งตนไว้ชอบ. วิ. อตฺตโน สมฺมา ปณิธิ อตฺตสมฺมา ปณิธิ. คนไม่มีศิล ได้รับคำสอนแล้วทำตนให้มีศิล คนไม่มีศรัทธาทำตนให้มีศรัทธาคนมีความตระหนี่ทำตนให้ถึงพร้อมด้วยการบริจาคหรือตั้งตนไว้ในกุศลกรรมบถ ๑๐ ประการชื่อว่า การตั้งตนไว้ชอบ.
  6. อตฺตหิต : (นปุ.) ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน, ประโยชน์ของตน, อัตหิตะ (ประโยชน์ส่วนตัว).
  7. อตฺตหิตา : (อิต.) ประโยชน์เกื้อกูลแก่ตน, ประโยชน์ของตน, อัตหิตะ (ประโยชน์ส่วนตัว).
  8. อตฺตเหตุ : (วิ.) มีตนเป็นเหตุ.
  9. อตฺตาทาน : (นปุ.) อธิกรณ์, อธิกรณ์ที่ตนถือเอา
  10. อตฺตาธิปเตยฺย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ยิ่งโดยตน, อัตตาธิปไตย (ปรารภตนเป็นใหญ่, ถือตัวเป็นใหญ่, เห็นแก่ตัว).
  11. อตฺตานุมติ : (อิต.) ความเห็นตามโดยตน, ความรู้ตามโดยตน, อัตตานุมติ(ตามความเห็นของตน)
  12. อตฺตุกฺกส : (วิ.) ผู้มีตนยิ่ง, ผู้ยกตน, ผู้ยกตนข่มท่าน.
  13. อตฺตุกฺกสนา : (อิต.) การยกตน, การยกตนข่มท่าน.
  14. อตฺรช : ๑. ป. บุตร, ผู้เกิดจากตน; ๒. ค. ซึ่งเกิดจากตน
  15. อตฺรชา : (อิต.) หญิงผู้เกิดแต่ตน, ลูกหญิง, ลูกสาว.
  16. อทินฺนาทาน : (นปุ.) การถือเอาซึ่งสิ่งของอันเจ้าของไม่ให้แล้ว, การถือเอาซึ่งสิ่งอันเจ้าของไม่ได้ให้แล้ว, การถือเอาสิ่งของที่เจ้าของไม่ได้ให้แก่ตน, อทินนาทาน (การลักทรัพย์การขโมย).วิ.อทินฺนสฺสอาทานํอทินฺนาทานํ.อถวา, อทินฺนํอาทียนฺติเอเตนาติอทินฺนาทานํ.
  17. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณ ชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตน ปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่น หมาย, ความจงใจ) คำพิษฐาน นี้เลือนมา จาก อธิษฐาน. ส. อธิษฺฐาน.
  18. อธิฎฺฐาน : (นปุ.) ธรรมชาติเครื่องตั้งทับ, คุณชาตตั้งไว้ซึ่งจิตยิ่ง, ความตั้งจิตปราถนา, ความตั้งใจมั่น, อธิษฐาน (ตั้งจิตมุ่งผลที่ตนปราถนา), พิษฐาน (ความตั้งใจ ความมั่นหมาย, ความจงใจ)คำพิษฐานนี้เลือนมาจากอธิษฐาน.ส.อธิษฺฐาน.
  19. อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
  20. อนตฺต : (วิ.) มีตนหามิได้, ไม่มีตน, ไม่มีตัวตน, มิใช่ตน, มิใช่ตัวตน, บังคับมิได้, บังคับไม่ได้, อนัตตา (ไม่อยู่ในอำนาจของเรา ไม่มีเจ้าของที่แท้จริง).น+อตฺต.
  21. อนตฺตตา : (อิต.) ความที่แห่งภาวะเป็นภาวะมีตนหามิได้, ฯลฯ, ความที่แห่งของเป็นของมีตนหามิได้, ความเป็นของมีตนหามิได้, ฯลฯ.
  22. อนฺเตวาสิก : (ปุ.) ชนผู้มีความอยู่ในภายในเป็นปกติ, ศิษย์, อันเตวาสิกคือผู้ที่ตนสวดให้ในคราวอุปสมบทหรือผู้ที่ตนสอนวิชาให้.วิ.อนฺเตวาสิโก.อนฺเตวาสิโกส. อนฺตวา-สินอนฺเตวาสิน.
  23. อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
  24. อนาวฏทฺวารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งตนผู้มีประตูอัน-ปิดแล้วหามิได้, ความเป็นคนไม่ปิดประตู (ยินดีต้อนรับ).น+อาวฎ+ทฺวาร+ตาปัจ.
  25. อนุณฺณต : ก. วิ. ไม่ฟู, ไม่ลอย ; ถ่อมตน, ไม่หยิ่ง
  26. อนุรโห : ก. วิ. ในที่ลับ, ในที่เฉพาะตน
  27. อปกตญฺญู : ค. อกตัญญู, ผู้ไม่รู้จักบุญคุณที่คนอื่นทำแก่ตน
  28. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  29. อปจายนมย : (วิ.) สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติถ่อมตน, สำเร็จแล้วด้วยความประพฤติอ่อนน้อมแก่ผู้ใหญ่.
  30. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  31. อรูปตณฺหา : อิต. ความอยากเป็นผู้ไม่มีตัวตน, ความอยากเกิดในชั้นอรูปพรหม
  32. อรูปธาตุ : อิต. อรูปธาตุ, สภาพที่ไม่มีตัวตน
  33. อรูปโลก : ป. อรูปโลก, โลกแห่งความไม่มีรูป, โลกแห่งความไม่มีตัวตน
  34. อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
  35. อสนฺตุฏฺฐ : ค. ไม่สันโดษ, ซึ่งไม่มีความพอใจในของของตน
  36. อสนฺตุฏฺฐิ, - ฐิตา : อิต. ความไม่สันโดษ, ความไม่ความพอใจในของที่ตนมีอยู่
  37. อสนฺทิฏฺฐิปรมาสี : ค. ผู้ไม่ลูบคลำทิฐิของตน, ผู้ไม่ยึดถือความเห็นของตน
  38. อสฺมิมาน : (ปุ.) มานะว่า อ. เรามีอยู่, มานะว่าอ. เราเป็น, มานะว่าเรามีอยู่, มานะว่าเราเป็น, การถือว่าเราเป็นนั่นเป็นนี่, การถือตัว, การถือเราถือเขา, ความถือตัว, ความสำคัญว่ามีตัวตน, อัสมิมานะ.
  39. อสยวสี : ค. ไม่อยู่ในอำนาจของตน
  40. อาตุม : (ปุ.) ตน, สรีระ.อทฺภกฺขเณ, มนฺปจฺจโย, ทสฺส โต, อุอาคโม, นฺโลโป.
  41. อาปตฺติ : (อิต.) โทษชาติที่ภิกษุต้อง, โทษชาติที่ภิกษุล่วงละเมิด, โทษที่เกิดเพราะความละเมิดพระวินัย, ความถึง, ความต้อง, อาบัติคือโทษที่เกิดเพราะความละเมิดในข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้าม (จากนวโกวาท)กิริยาที่ล่วงละเมิดพระบัญญัติและมีโทษเหนือตนอยู่ (วินัยมุขหน้า๑๑) การฝ่าฝืนหรือล่วงละเมิดข้อที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามและไม่ทำตามข้อที่ทรงอนุญาต(เฉลย สนามหลวง).ส.อาปตฺติ.
  42. อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
  43. อาหารตฺถก : (ปุ.) อาหารัตถกะ ชื่อคน คนใด บริโภคอาหารจนไม่อาจลุกขึ้นได้โดยธรรมดาของตน จึงกล่าวว่าฉุดมือทีคนนั้น ชื่อ อาหารัตถกะ.
  44. อิโต : (อัพ. นิบาต) แต่...นี้, แต่...ข้างนี้, แต่นี้, แต่ข้างนี้, ข้างนี้. อิม ศัพท์ โต ปัจ. แปลง อิม เป็น อิ.
  45. อุกฺกสติ, - เสติ : ก. ยกตน, สรรเสริญ, ชมเชย, สดุดี
  46. อุณฺณติ : (อิต.) ความพองจิต, ความถือตัว, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, การเทิดตน, การไว้ตน, การยกตน. อุปุพฺโพ, นมุ นมเน, ติ. ดู อุณฺณต.
  47. อุณฺณมติ : ก. ฟูขึ้น, พองขึ้น, ยกตน, หยิ่ง
  48. อุนฺนติ : (อิต.) ความพองของจิต, ความไว้ตัว, ความจองหอง, ความไว้ยศ, ความยกตน. วิ. อุนฺนมนํ อุนฺนติ. ติ ปัจ. ส. อุนฺนติ การยก, ความรุ่งเรือง, ความเจริญขึ้น.
  49. อุปสนฺตราคาทิกิเลส : (วิ.) ผู้มีกิเลสมีราคะ เป็นต้น อันตนให้เข้าไปสงบแล้ว, ผู้มีกิเลส มีราคะเป็นต้น อันเข้าไปสงบแล้ว.
  50. อุปาทิ : (อิต.) ธรรมชาติอันตัณหาเป็นต้นถือ เอาสภาวะเป็นผลของตน, ธรรมชาติอันตัณหาเป็น ต้นเข้าไปถือเอา,ธรรมชาติผู้เข้าไปถือเอา (ขันธปัญจกะ), สังโยชน์. อุป อา ปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อิ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-503

(0.0854 sec)