Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เฉพาะบุคคล, เฉพาะ, บุคคล , then ฉพา, เฉพาะ, เฉพาะบุคคล, บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉพาะบุคคล, 509 found, display 251-300
  1. ปุววิกติ : (ปุ.) ขนมอันบุคคลทำให้หลาก. หลากคือต่างๆ แปลก เลิศลอย.
  2. เปตกิจฺจ : (นปุ.) กิจอันบุคคลพึงทำเพื่อบุคคลผู้ละโลกไปแล้ว, กิจอันบุคคลพึงทำแก่บุคคลผู้ไปสู่ปรโลกแล้ว.
  3. เปตเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปฏิบัติเกื้อกูลแก่บิดา, ความปฏิบัติเครื่องเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่บิดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่บิดา. ตา ปัจ. ภาวตัท.
  4. เปตพลิ : (ปุ.) เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้แก่บุคคลผู้ละโลกไปแล้ว, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปแล้ว.
  5. เปม : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นที่รัก, ความเป็นแห่งความปลื้ม, ความเป็นแห่งความรัก. วิ. ปิยสฺส ภาโว เปมํ. อิม ปัจ. แปลง ปิย เป็น ป. อีกอย่างหนึ่ง วิ. ปิโน ภาโว เปมํ. อภิฯ.
  6. เปยฺยวชฺช : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงดื่ม, ถ้อยคำอันดูดดื่ม, ถ้อยคำอ่อนหวาน.
  7. เปสการ : (ปุ.) บุคคลผู้กระทำซึ่งกรรม คือ อันส่งไป, บุคคลผู้ทำซึ่งการพุ่ง, ช่างทอ, ช่างหูก, ช่างทอหูก.
  8. เปสนีย : (วิ.) อันบุคคลพึงส่งไป. ปิสฺ เปสเน, อนีโย.
  9. เปสฺส : (ปุ.) บุคคลอันบุคคลส่งไป, คนรับใช้, ทาส, บ่าว. วิ. เปสียเตติ เปสฺโส. ปิสฺ เปสนีเย, โณ, สสฺส ทฺวิตฺตํ.
  10. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  11. ผุสน : (นปุ.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
  12. ผุสนา : (อิต.) การถูก, การถูกต้อง, ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูกต้อง, สัมผัส.
  13. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  14. พฺยตฺตวาจา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, ฯลฯ, วาจาฉลาด, ฯลฯ.
  15. พฺรหฺมเทฺยฺย : (นปุ.) รางวัลอันบุคคลผู้ประเสริฐพึงให้, รางวัลอันบุคคลผู้เพียงดังพรหมพึงให้, รางวัลอันประเสริฐ.
  16. พลนายก : (ปุ.) บุคคลผู้นำพล, แม่ทัพ.
  17. พลวปจฺจุส พลวปจฺจูส : (ปุ.) กาลอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  18. พลวปจฺจูสมย : (ปุ.) สมัยอันกำจัดเฉพาะซึ่งมืดมีกำลัง, สมัยอันกำจัดเสียซึ่งมืดมีกำลัง, เวลาย่ำรุ่ง.
  19. พลาธิการ : (ปุ.) บุคคลผู้ทำยิ่งในเสนา, พลาธิการชื่อกรมๆ หนึ่ง มีหน้าที่ควบคุมจัดหา ที่พัก เสบียงอาหาร ฯลฯ ในกองทัพ ถ้าระดับต่ำกว่ากองทัพ ก็เป็นชื่อของ กอง และเป็นชื่อของผู้ทำหน้าที่ในกรมกองนั้น.
  20. พาล : (วิ.) ผู้ตัดประโยชน์ทั้งสองอันบัณฑิตนับพร้อมแล้วว่าประโยชน์ของตนและประโยชน์ของบุคคลอื่น, เขลา, โง่, เซอะ, พาล. วิ. เทฺว อตฺตตฺถปรตฺถสํขาเต อตฺเถลุนาตีติ พาโล. ทฺวิ+ลา ธาตุ ในความตัด อ ปัจ. แปลง ทฺวิ เป็น พา. อ่อน, ไร้เดียงสา, เล็ก. พลฺ ปาณเน, โณ แปลว่า ชั่ว, ร้าย, ดุ, ดุร้าย อีกด้วย.
  21. พาหิรตฺต : นป. ความมีในภายนอก, ความเป็นแห่งบุคคลภายนอก
  22. พาหิราภิมุข : ค. ผู้มีหน้าเฉพาะต่อสิ่งที่มีในภายนอก, ผู้มุ่งหน้าสู่ภายนอก, ผู้มองไปข้างนอก
  23. พาหุลฺล : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มักมาก, ความเป็นผู้มักมาก. พหุล+ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  24. พาหุสจฺจ พาหุสฺสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้สดับมาก, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสุตะมาก, ความเป็นแห่งพหุสุตบุคคล, ความเป็นพหุสุต, ความเป็นพหูสูต. วิ. พหุสุตสฺส พหุสฺสุตสฺส วา ภาโว พาหุสจฺจํ พาหุสฺสจฺจํ วา, พหุสุต, พหุสฺสุต+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  25. พิลาล พิฬาล : (นปุ.) เกลือที่บุคคลยังดินในที่ใกล้ทะเลให้สุกทำขึ้น, เกลือสะตุ. เกลือสินเธาว์ ก็ว่า.
  26. โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
  27. ภคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งส่วน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วน. ภาค+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. รัสสะ อา เป็น อ หรือ ภค+ณฺย.
  28. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  29. ภณฺฑ : (นปุ.) ราคาทรัพย์, ต้นทุน, ทรัพย์อันเป็นต้นทุน, สมบัติ, ทรัพย์สมบัติ, เครื่อง (สิ่ง สิ่งของ), สิ่งของ, ข้าวของ, ของใช้, เครื่องใช้, สิ่งของเครื่องใช้, เครื่อง ใช้สอย, เครื่องทัพพสัม ภาระ, เครื่องประดับ, เครื่องแต่งตัว, ลอม (ของที่รวมตะล่อมเข้าเป็นกอง), ทรัพย์อันบุคคลพึงห่อ, สินค้า. ภฑิ ภณฺฑตฺเถ, โก, นิคฺคหิตาคโม, กโลโป.
  30. ภทนฺตุ : (ปุ.) บุคคลผู้เจริญ, ท่านผู้เจริญ.
  31. ภวนฺตุ : (ปุ.) ปูชารหบุคคล, พระผู้มีพระภาคเจ้า, พระพุทธเจ้า (ชิน).
  32. ภาริย : (วิ.) ผู้อันบุคคลพึงเลี้ยง. ภรฺ โปสิน, โณฺย, อิ คาคโม.
  33. ภิ : (นปุ.) ธรรมชาตอันบุคคลพึงกลัว, ภัย.
  34. ภุตฺตปาตราส : (วิ.) ผู้มีอาหารอันบุคคลพึงกินในเวลาเช้าอันบริโภคแล้ว.
  35. เภทปุเรกฺขารตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ทำซึ่งการแตกกันในเบื้องหน้า.
  36. เภสชฺชกร : (ปุ.) บุคคลผู้ปรุงยา, แพทย์ผู้ปรุงยา, เภสัชกร.
  37. มคฺคเทสิก : (ปุ.) บุคคลผู้เดินทาง, คนเดินทาง.
  38. มจฺฉพนฺธ : (ปุ.) บุคคลผู้จับซึ่งปลา, ชาวประมง. วิ. มจฺเฉ พนฺธติ ชาเลนาติ มจฺฉพ-นฺโธ. มจฺฉปุพฺโพ, พนฺธฺ พนฺธเน, อ. คนผู้ฆ่าปลา, ชาวประมง, พรานปลา. วิ. มจฺเฉ วธตีติ มจฺฉพนฺโธ. หนฺ หึสายํ. ลง นิคคหิตอาคม แปลง หน เป็น วธ แปลง นิคคหิต เป็น นฺ ว เป็น พ.
  39. มชฺฌตฺตตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, อุเบกขา.
  40. มญฺญตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งตนเป็นผู้ถือตัวแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือตัว, ความเป็นผู้ถือตัว. มญฺญ-ต+ตฺต ปัจ.
  41. มตกภตฺต : (นปุ.) ภัตอันบุคคลพึงให้เพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่อบุคคลผู้ตายแล้ว, ภัตอันบุคคลถวายเพื่ออุทิศผลแด่บุคคลผู้ตาย, ภัตเพื่อผู้ตาย, มตกภัต (อาหารที่ทำบุญอุทิศให้ผู้ตาย).
  42. มตฺตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งประมาณ, ความเป็นผู้รู้ประมาณ, ความเป็นผู้รู้จักประมาณ, ความเป็นคนรู้จักประมาณ, ความเป็นคนผู้รู้จักพอดี, ความรู้จักประมาณ.
  43. มตฺเตยฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เกื้อกูลแก่มารดา, ความเป็นผู้เกื้อกูลแก่มารดา.
  44. มธุก : (ปุ.) คนผู้ชมมรรคาแห่งสวรรค์, บุคคลผู้แต่งพงศาวดาร. มคฺคํ ถวตีติ มธุโก. มคฺคปุพฺโพ, ถุ ถติยํ, ณฺวุ. คฺคโลโป, ถสฺส โธ.
  45. มธุโภชน : (นปุ.) โภชนะอันบุคคลพึงใจ, โภชนะอันอร่อย.
  46. มนุสฺสโทภาคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีส่วนชั่วในความเป็นมนุษย์. ณฺย ปัจ.
  47. มนุสฺสปฏิลาภ : (ปุ.) การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพแห่งมนุษย์, การได้เฉพาะซึ่งอัตภาพเป็นมนุษย์.
  48. มโนทุจฺจริต : (นปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติชั่วแล้วด้วยใจ, การประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วด้วยใจ, ความประพฤติชั่วทางใจ.
  49. มโนสสุจริต : (ปุ.) กรรมอันบุคคลประพฤติดีแล้วด้วยใจ, ฯลฯ. ดู มโนทุจฺจริต เทียบ.
  50. มรณภาว : (ปุ.) ความเป็นคืออันตาย, ความเป็นคืออันจะตาย, ฯลฯ, ความตาย. ไทยมรณภาพ ใช้เป็นกิริยาว่า ตาย เฉพาะการตายของพระสงฆ์.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | [251-300] | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-509

(0.0696 sec)