Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เฉพาะบุคคล, เฉพาะ, บุคคล , then ฉพา, เฉพาะ, เฉพาะบุคคล, บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉพาะบุคคล, 509 found, display 401-450
  1. อกิริยวาท : (วิ.) ผู้มีวาทะว่า อ. กรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีวาทะว่ากรรมอันบุคคลทำแล้วไม่ชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีลัทธิเป็นเครื่องกล่าวกรรมไม่ชื่อว่าอันบุคคลทำ, ฯลฯ.
  2. อคฺคช : (ปุ.) บุคคลผู้เกิดก่อน, ลูกคนหัวปี, ลูกคนแรก, พี่ชาย.อคฺค บทหน้า ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ, ลบ นฺ. ส. อคฺรช.
  3. อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
  4. องฺครกฺข : (ปุ.) บุคคลผู้ป้องกันองค์พระมหากษัตริย์, บุคคลผู้รักษาตัว (หมายถึงตัวของบุคคลอื่นที่ตนมีหน้าที่ไปรักษาป้องกัน).ส. องฺครกฺษ.
  5. อจฺจนฺตทุสฺสีลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลชั่วเป็นไปล่วงซึ่งส่วนสุด, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้วโดยแท้, ความเป็นผู้ทุศีลล่วงส่วน.
  6. อจินฺเตยฺย : (วิ.) อันบุคคลไม่ควรคิด, อันใครๆไม่ควรคิด(พ้นความคิด), ไม่ควรคิด.
  7. อชฺชว : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ซื่อตรง, ความเป็นแห่งคนซื่อตรง, ความเป็นคนซื่อตรง.วิ. อุชุโน ภาโว อชฺชวํ.ณปัจ.ภาวตัท. แปลง อุ เป็น อ แปลง อุ ที่ ชุเป็น อว แปลง ช เป็น ชฺช. ความซื่อตรง.ณ ปัจ. สกัต.
  8. อชฺฌตฺต : (วิ.) อันเป็นไปทับซี่งตน, อันเป็นไปในภายใน, ทับตน, เฉพาะตัว, ส่วนตัวภายใน, อาศัยซึ่งจิตเป็นไป. แปลอตฺตว่าจิต.
  9. อชฺฌตฺติก : (วิ.) อันเป็นไปภายใน, มีในภายใน, เฉพาะตัว, ส่วนตัว, ภายใน.อชฺฌตฺติกาพาหิรอายตนะภายในและอายตนะภายนอก.
  10. อชฺฌูปคมน : (นปุ.) การเข้าไปเฉพาะ.
  11. อญฺชลิกรณียอญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์)ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ.วิ. อญฺชลิกรณิโยยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุลอญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย.ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. อญฺชลิกมฺมํกรณํอญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํอญฺชลิกรณํอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.อียปัจ.ฐานตัท.ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ.วิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺสอรหตีติอญฺชลิกรณิโย.เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำวิ. กตฺตพฺพสฺสอญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติอญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำโดยไม่หักวิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็นอญฺชลิกรณีโยแต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์เป็นอญฺชลีกรณิโยพึงสวดให้ถูกต้องด้วย.
  12. อญฺชลิกรณีย อญฺชลีกรณีบ : (วิ.) (สงฆ์) ผู้มีอัญชลึอันบุคคลพึงทำ. วิ. อญฺชลิ กรณิโย ยสฺส โส อญฺชลิกรณิโย. ฉ.ตุล อญฺชลิกรณิโย ยสฺมึ โส อญฺชลิกรณีโย. ส. ตุล. ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก พึงทำ, ผู้ควรซึ่งอัญชลีกรรมอันสัตว์โลก ทำ. วิ. อญฺชลิกมฺมํ กรณํ อญฺชลิกรณํ, กตฺตพฺพํ อญฺชลิกรณํ อรหตีติ อญฺชลิ กรณิโย. อียปัจ. ฐานตัท. ผู้ควรแก่อัญ ชลีกรรมอันสัตว์โลกพึงกระทำ, ผู้ควร แก่อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ. วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อรหตีติ อญฺชลิกรณิโย. เป็นผู้ควรซึ่งอัญชลี กรรมอันสัตว์โลกทำ วิ. กตฺตพฺพสฺส อญฺชลิกรณสฺส อนุจฺฉวิโกโหตีติ อญฺชลิกรณิโย. แปลว่า เป็นผู้ควรแก่ อัญชลีกรรมอันสัตว์โลกทำ โดยไม่หัก วิภัติก็ได้. พระไตรปิฏกเป็น อญฺชลิกรณี โย แต่ในสังฆคุณที่ใช้ในบทสวดมนต์ เป็น อญฺชลีกรณิโย พึงสวดให้ถูกต้อง ด้วย.
  13. อญฺญ : (วิ.) อันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง.อาปุพฺโพ, ญา อวิโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺสํโยโค.
  14. อญฺญา : (อิต.) พระอรหันตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง, พระอรหันตผล.วิ.ปฐมมคฺคาทีหิทิฎฺฐิมริยาทมนติกฺกมิตฺวาชานิตพฺพาติอญฺญา.รูปราคาทีนํวาปญฺจนฺนํอุทฺธมฺภาคิยสํโยชนานโมธิวเสนมารณโตอญฺญา. อาปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺ สํโยโค.
  15. อญฺญาตกเวส : (ปุ.) เพศอันบุคคลไม่รู้แล้ว, การปลอมเพศ.
  16. อญฺย : (นปุ.) พระอรหัตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่ว ถึง, พระอรหัตผล.
  17. อญฺาตกเวส : (ปุ.) เพศอันบุคคลไม่รู้แล้ว, การปลอมเพศ.
  18. อณฺฑก : (วิ.) หยาบ, หยาบคาย, ขรุขระ, ระคาย.ใช้เป็นคุณบทเฉพาะวาจา.
  19. อตฺตปฏิลาภ : ป. การได้เฉพาะตน, การมีตัวตน
  20. อตฺตมนตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีใจอันปีติและโสมนัสถือเอาแล้ว. ฯลฯ.
  21. อตฺถญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้จักผล, ความเป็นผู้รู้จักผล.
  22. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  23. อติวากฺย : (ปุ.) คำอันพึงบุคคลพึงกล่าวล่วงเกิน, คำกล่าวล่วง, คำล่วงเกิน.อติปุพฺโพวจฺภาสเน, โณฺย, จสฺสโก.
  24. อทฺธภูต : (วิ.) เป็นเฉพาะแล้ว, เป็นยิ่งแล้ว.อธิ+ภู ธาตุตปัจ.ภู ธาตุอยู่หนปลายแปลงอธิเป็นอทฺธ.
  25. อธิกจิตฺต : (นปุ.) จิตยิ่ง(จิตที่ได้บรรลุฌาน), จิตของบุคคลผู้ยิ่ง (จิตของผู้ได้ฌาน).
  26. อธิการ : (ปุ.) คุณอันบุคคลพึงกระทำยิ่ง, คุณวิ-เศษเครื่องทำยิ่ง. ภาระ, หน้าที่, การปกครอง, การบังคับบัญชา, เรียกเจ้าอาวาสซึ่งมิได้เป็นเจ้าคณะว่าพระอธิการเรียก ผู้อำนวยการวิทยาลัยว่าอธิการถ้าเป็นมหาวิทยาลัยเรียกว่าอธิการบดี.ส. อธิการ.
  27. อธิการปกติ : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่ในหน้าที่, บุคคลผู้เป็นใหญ่ในการปกครอง, อธิการบดี(ผู้เป็นใหญ่ในการปกครองมหาวิทยาลัย).
  28. อธิคม : (วิ.) อันบุคคลพึงบรรลุ.
  29. อนฺนท : (ปุ.) บุคคลผู้ให้อาหาร.อนฺนปุพฺโพ, ทาทาเน, อ.
  30. อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
  31. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  32. อนาจาร : (วิ.) มิใช่มรรยาทอันบุคคลพึงประ-พฤติโดยเอื้อเฟื้อ.ส. อนาจาร.
  33. อนามต : (นปุ.) ที่อันบุคคลไม่เคยตาย, ที่อันสัตว์ไม่เคยตาย.
  34. อนุทิน : (นปุ.) วันโดยลำดับ, เฉพาะวัน, รายวัน, ประจำวัน, อนุทิน.ส.อนุทิน.
  35. อนุรโห : ก. วิ. ในที่ลับ, ในที่เฉพาะตน
  36. อนุสมฺปวงฺกตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้คล้อยตาม.
  37. อนุสย : (ปุ.) ความเดือดร้อนในภายหลัง(ปจฺฉาตาป), ความเดือดร้อนใจ (วิปฺปฏิสาร)ความติดตาม (อนุพนฺธ), ความเป็นไปบ่อยๆ, ความเป็นไปเสมอ (ปุนปฺปุนํ ปวตฺตนํ), ธรรมเป็นที่นอนตาม, อนุสัย.วิ.สนฺตาเนอนุเสนฺตีติอนุสยา.อนุรูปํการณํลภิตฺวาเสนฺติอุปฺปชฺชนฺตีติวาอนุสยา.อนุเสตีติวาอนุสโย.สิสีวาสเย, อ.อนุสัยเป็นชื่อของกิเลสอย่างละเอียดมี ๗ คือกามราคะปฏิฆะทิฏฐิวิจิกิจฉามานะภวราคะและอวิชชาซึ่งนอนเนื่องอยู่ในสันดานของสัตว์ทั้งหลายเป็นเชื้อนอนนิ่งอยู่เมื่อไม่มีอารมณ์มากระทบอายตนะภายในก็ดูเหมือนเป็นคนไม่มีกิเลสแต่ความจริงอนุสัยทั้ง ๗ มีอยู่ จะเรียกคนอย่างนี้ว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้ คำนิพพานที่ใช้ในพระพุทธศาสนาพระบรมศาสดาตรัสเรียกเฉพาะผู้ที่ละกิเลสอย่างละเอียดทั้ง ๗ นี้ได้สิ้นเชิงเป็นสมุจเฉทฉะนั้น จะเรียกคนที่มีกายวาจาและใจดูเรียบร้อย แต่ใจยังมีอนุสัย ๗ อยู่ แม้ผู้นั้นจะได้ฌานชั้นใดชั้นหนึ่งหรือทั้ง ๘ ชั้นก็ตามว่านิพพานชั่วขณะไม่ได้.อนุสัย ๗ นี้ละได้ด้วยปัญญา (วิปัสสนา) อย่างเดียว.ส.อนุศย.
  38. อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
  39. อปฏิพทฺธ : (วิ.) ไม่นับเนื่องเฉพาะแล้ว, ไม่ถูกต้องแล้ว, ไม่จดจ่อแล้ว.น+ปฏิ+พธฺ ธาตุตปัจ.
  40. อปฺปฏิปุคฺคล : (วิ.) มีบุคคลเปรียบหามิได้, ไม่มีบุคคลเปรียบ.
  41. อปฺปฏิพทฺธ : (วิ.) ผู้มีจิตไม่เนื่องเฉพาะแล้ว, ผู้ไม่มีจิตติดต่อเฉพาะแล้ว, ผู้ไม่มีจิตจอดจ่อแล้ว.
  42. อปฺปฏิสม : (วิ.) ไม่มีบุคคลอื่นเสมอเปรียบ.
  43. อปฺปรชกฺขชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งบุคคลผู้มีธุลีในนัยน์ตาน้อย, ผู้มีกิเลสธุลีในดวงตาน้อย.
  44. อปฺปิจฺฉตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย.
  45. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  46. อปฺปิย : (วิ.) มิใช่บุคคลอันบุคคลพึงรัก, มิใช่ผู้อันบุคคลพึงรัก, มิใช่สัตว์และสังขารอันเป็นที่รัก, มิใช่เป็นที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ชั่วช้า, ต่ำช้า, อัปรย์ (ไม่น่ารัก น่าเกลียด)ส. อปฺริย.
  47. อภิชฺฌา : (อิต.) อภิชฌาชื่อของตัณหา, ตัณหา, ความเพ่งเล็ง, ความโลภ, ความอยากได้, ความทะเยอทะยาน, ความกระวนกระวาย, ความปรารถนาอย่างแรงกล้า, ความเพ่งเฉพาะ, ความปรารถนา.วิ.ปรสมฺปตฺตีอภมุขํกตฺวาฌายตีติอภิชฺฌา.ส. อภิขฺยา.
  48. อภิณฺห : (วิ.) เฉพาะวัน, ทุกวัน ๆ, เสมอ (ร่ำไปเป็นนิตย์).
  49. อภิโต : (อัพ. นิบาต) ริม, ใกล้, เฉพาะหน้า, ทั้งสองข้าง, นิบาตลงในอรรถสัตตมี.อภิฯและรูปฯ.
  50. อภิธานอภิเธยฺย : (นปุ.) การตั้งเฉพาะ, อภิปุพฺโพ, ธาธารเณ, ยุ.โณฺย.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-509

(0.0543 sec)