Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เฉพาะบุคคล, เฉพาะ, บุคคล , then ฉพา, เฉพาะ, เฉพาะบุคคล, บุคคล, ปุคคล .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เฉพาะบุคคล, 509 found, display 51-100
  1. กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
  2. กุลงฺคาร : ป. บุคคลผู้เป็นดุจถ่านเพลิงแห่งวงศ์ตระกูล, ผู้ผลาญวงศ์ตระกูล
  3. กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
  4. กุลาลภณฺฑ : (นปุ.) ของใช้อันบุคคลถือเอาซึ่ง ดินกระทำ, ของใช้สำเร็จด้วยดิน, ของใช้ ที่ทำด้วยดิน.
  5. กุลาลภาชน : (นปุ.) ภาชนะอันบุคคลถือเอาซึ่ง ดินกระทำ ฯลฯ
  6. เกตก : (ปุ.) บุคคลผู้กำหนด, บุคคลผู้เรียก. กิตฺ ญาณสํเกตเนสุ, เกตฺ อามนฺตเน, ณวุ
  7. เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
  8. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  9. โกสารกฺข : ป. ขุนคลัง, บุคคลที่รักษาคลังหรือยุ้งฉาง
  10. โกหญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยัง สกุลให้พิศวง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยังโลก (ชาวโลก) ให้พิศวง. วิ. กุหกสฺส ภาโว โกหญฺญํ. กุหก+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง กฺย เป็น ญฺญ ดูโกสชฺช ด้วย.
  11. ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
  12. ขณฺฑิจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีฟันหัก วิ. ขณฺฑิกสฺส ภาโว ขณฺฑิจฺจํ. ขณฺฑิก+ณฺย ปัจ. แปลง ก เป็น จ ลบ อ ที่ จ ลบ ณฺ รวม เป็น จยฺ แปลง เป็น จฺจ.
  13. ขลคฺค : (นปุ.) ทานอันเลิศอันบุคคลพึงให้ใน กาลเป็นที่นำมาซึ่งฟ่อนข้าวสู่ลาน.
  14. ขลฺลาฏสีส : (นปุ.) ศรีษะแห่งบุคคลผู้เป็นไป ด้วยความเป็นแห่งบุคคลผู้ถือเอาซึ่ง ศรีษะเปล่า, ศรีษะของคนหัวล้าน.
  15. ขาทนีย : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงกัดกิน, ของ เคี้ยว, ของเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยวกิน, ของ กิน (ยกเว้นโภชนะ ๕), ขาทนียะ ได้แก่ ยาคู ยามกาลิก สัตตาหกาลิก และ ยาวชีวิก ไตร. ๓/๒๑๖. ขาทนียะบางอย่างก็ ไม่ต้องเคี้ยวเช่นน้ำอัฏฐปานะ ดูโภชนียด้วย.
  16. ขาทิตปีตนจฺจคีตวาทิตาทิ : (วิ.) มีวัตถุอันบุคคลเคี้ยวกินแล้วและวัตถุ (น้ำ) อันบุคคล ดื่มแล้วและเครื่องดนตรีมีอันฟ้อนและอันขับและอันประโคม เป็นต้น. เป็น อ. ทวัน. มี อ. ทวัน. และ ฉ. ตุล. เป็น ภายใน.
  17. ขุรคฺค : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงแห่งกรรมอัน บุคคลพึงทำด้วยมีดโกน (ปลงผมเสร็จ), ขณะโกนผมเสร็จ, ขณะปลงผมเสร็จ. วิ. ขุเรน กตฺตพฺพกมฺมสฺส อคฺโค ขุรคฺโค.
  18. คนฺถธุร : (นปุ.) กิจในคัมภีร์, การเล่าเรียน ความรู้ซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, การศึกษาคำ สั่งสอนซึ่งจารึกไว้ในคัมภีร์, คันถธุระ ชื่อ ธุระอย่าง ๑ ใน ๒ อย่าง ของพระพุทธ ศาสนา. การเล่าเรียนพระปริยัติธรรมคือ คำสั่งสอน แล้วทรงจำไว้กล่าวสอนไม่ให้ ผิดไปจากหลักตัดสินพระธรรมวินัย ชื่อว่า คันถธุระ. เป็นหน้าที่ของพุทธศาสนิกชน โดยเฉพาะพระภิกษุและสามเณร. ธุระ อีกอย่างหนึ่งคือ วิปัสสนาธุระ.
  19. คนฺธกุฏิ : อิต. คันธกุฎี, กระท่อมที่อยู่อาศัยของบรรพชิต (โดยเฉพาะเป็นที่ประทับอยู่อาศัยของพระพุทธเจ้า)
  20. คนฺธปญฺจงฺคุลิก : นป. เครื่องหมายนิ้วมือทั้งห้าที่บุคคลเจิมแล้วด้วยวัตถุมีกลิ่นหอม
  21. คนฺธารกาสาววตฺถ : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยน้ำฝาดอันบังเกิดแล้วในเมืองคันธาระ. เป็นวิเสสนปุพ. กัม มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. และ ส. ตัป. เป็นภายใน.
  22. คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
  23. คมิกภตฺต : (นปุ.) ภัตเพื่อบุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อ ประโยชน์แก่บุคคลผู้จะไป, ภัตเพื่อบุคคล ผู้เดินทาง, ภัตเพื่อประโยชน์แก่บุคคลผู้จร มา.
  24. คาถา : (อิต.) วาจาของบุคคลผู้มีปรีชา, คำของ บุคคลผู้มีปรีชา, วาจาอันบัณฑิตผูกไว้, สัททชาติอัณบัณฑิตกล่าว, ลำนำ (บทเพลง ที่เป็นทำนอง), กลอน, บทกลอน, เพลง, เกียรติ, คาถา ชื่อคำประพันธ์ทางภาษา มคธ เรียกคำฉันท์ที่ครบ ๔ บาทว่า ๑ คาถา (ระเบียบเป็นเครื่องอันบัณฑิตขับ) ชื่อองค์ที่ ๔ ของนวังคสัตถุศาสน์. คา สทฺเท, โถ, อิตฺถิยํ, อา. ส. คาถา.
  25. คิรา : (อิต.) สัททชาติอันบุคคลพึงเปล่ง, วาจา อันบุคคลพึงเปล่ง. วิ. เคตพฺพาติ คิรา. เสียง ที่เปล่ง, ถ้อยคำ, วาจา, คำพูด. เค สทฺเท, อิโร
  26. คีต : (นปุ.) การขับ, การร้อง, การขับร้อง, การร้องเพลง, การเล่นขับร้อง, การเล่นร้อง เพลง. วิ. คายนํ คีตํ. เค สทฺเท, โต, เอ การสฺส อีกาโร. รูปฯ ๖๐๗ แปลง เค เป็น คี. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  27. คีติ : (อิต.) การขับ ฯลฯ วิ. คายนํ คีติ. เค สทฺเท, ติ. เพลงอันบุคคลพึงขับ วิ. เคตพฺพนฺตีติ คีติ.
  28. เคยฺย : (นปุ.) คำอันบุคคลพึงขับ, คำเพียงดัง เพลงอันบุคคลพึงขับ, พระพุทธพจน์อัน ควรขับ, เคยยะ ชื่อองค์ที่ ๒ ใน ๙ ของ นวังคสัตถุสาสน์ ได้แก่พระสูตรมีคาถา แต่งเป็นร้อยแก้วบ้างร้อยกรองบ้าง. คา สทฺเท, ณฺย. แปลง โณฺย กับ อา เป็น เอยฺย รูปฯ ๕๔๐. อีกนัยหนึ่งลบ ณฺ แล้วแปลง ย กับ อา เป็น เอยฺย.
  29. โค : (ปุ.) โคผู้ วิ. คจฺฉตีติ โค. คมฺ คติยํ, โร. รปัจ. มี อำนาจให้ลบที่สุดธาตุแล้วลบตัวเอง. โค แปลว่าวัว ไม่นิยมตัวผู้หรือตัวเมีย มีแบบ แจกวิภัติโดยเฉพาะ ดูวจีวิภาค ภาคที่ ๒ เลขที่ ๗๑. บางคัมภีร์ แปลว่า แม่โคก็มี แต่ส่วนมากใช้เป็นคำกลาง หมายเอาทั้ง โคผู้และโคเมีย ถ้าหมายเอาโคผู้โดยเฉพาะ ใช้ศัพท์โคณ เมื่อหมายเอาตัวเมียใช้ศัพท์ คาวี. โคศัพท์ ยังแปลได้อีก คือ แปลว่า น้ำ อุ. โคสีตจนฺทน, สวรรค์ อุ. ธมฺโม- ปจิเตน คาวํ ปยติ. คนย่อมไปสวรรค์ด้วย ธรรมที่สั่งสมไว้แล้ว. แสงสว่าง รัศมี อุ. คาโว วิคฺคจฺฉนฺติ เทหโต. รัศมีท. ย่อมซ่านออกจากกาย, เพชร อุ. คาเวน ปริชฺเฌยฺย มณิโก. ช่างแก้วเจียระไนด้วย เพชร, ลูกศร อุ. ควํ ฉินฺทนฺติ ตจฺฉกา. ช่างถากท. ย่อมตัดลูกศร, ดวงจันทร์ อุ. คาวํ โอโลเกสิ จกฺขุนา. คนมองดวงจันทร์ ด้วยจักษุ, ตา อุ. คาเวน จนฺทํ อิกฺขติ. คนมองดวงจันทร์ด้วยตา, คำพูด ถ้อยคำ อุ. คาวํ ภาสนฺติ เต ชนา. ชน.ท. เหล่านั้น พากันพูดถ้อยคำ, พื้นดิน อุ. คาเว ฐิโต โอนมิ สาขํ. คนยืนที่พื้นดินโน้มกิ่งไม้, อินทรีย์ อุ. โคจรํ ที่เป็นที่เที่ยวไปแห่ง อินทรีย์, พระอาทิตย์ อุ. โค สุริโย.
  30. โคตฺรภู : ค. บุคคลซึ่งอยู่กึ่งกลางระหว่างปุถุชนกับพระอริยเจ้า
  31. ฆนกรกวสฺส : (นปุ.) ฝนอันบุคคลพึงถือเอา ด้วยมือโดยความเป็นก้อน, ฝนอันทำซึ่ง ความเป็นแท่ง, ฝนลูกเห็บ.
  32. ฆาสจฺฉาทนาทิ : (วิ.) มีข้าวอันบุคคลพึงกินและ ผ้าเป็นเครื่องปกปิดเป็นต้น.
  33. จตุจตฺตาฬีสโกฏิวิภว : (วิ.) ผู้มีโภคะอันบุคคล พึงเสวยมีโกฏิสี่สิบสี่เป็นประมาณ เป็น ฉ. ตุล. มี อ. ทิคุ. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
  34. จาตุพฺเพท : ป. พระเวทสี่ (ใช้เฉพาะในรูปพหุวจนะ = จาตุพฺเพทา)
  35. จาปลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประดิษฐ์ ประดอย, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ประพฤติ โดยพลัน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้พลิก แพลง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้โลเล, ฯลฯ. จปลสฺส ภาโว จาปลฺยํ. ณฺย ปัจภาวตัท. การชอบตกแต่ง, ฯลฯ. ณฺย ปัจ. สกัด.
  36. จิกิจฺฉก : (ปุ.) บุคคลผู้เยียวยา, บุคคลผู้รักษา โรค, คนพยาบาล, หมอ, แพทย์ นาย แพทย์. กิตฺ โรคาปนยเน. ฉ ปัจ และ ณฺวุ ปัจ. เทว๎ภาวะ กิ แปลง กิ เป็น จิ แปลง ตฺ เป็น จฺ
  37. จิตฺตปฏิสเวที : (วิ.) รู้พร้อมเฉพาะซึ้งจิต, จิตตปฏิสังเวที(ทำให้จิตแจ่มแจ้ง).
  38. จิรปฏิก : ป. กาลนาน (มีใช้เฉพาะในรูปปัญจมีวิภัติติเป็น จิรปฏิกา = ตั้งแต่กาลนานมาแล้ว)
  39. จีวร : (นปุ.) ผ้า วิ. จียตีติ จีวรํ. จิ จเย, อีวโร. ศัพท์จีวร นี้แปลว่าผ้า หมายถึงผ้าทุกชนิด ไทยนำคำจีวรมาใช้ออกเสียงว่า จีวอน ใช้ ในความหมาย ๒ อย่างคือหมายถึงผ้าของ ภิกษุทั้ง ๓ ผืน ได้แก่ ผ้านุ่ง ผ้าห่ม และ ผ้าสังฆาฏิ ได้ในคำว่า บาตรจีวร หรือไตร จีวรอย่าง ๑ หมายเอาเฉพาะผ้าห่มอย่าง เดียวได้ในคำว่า สบง จีวร สังฆาฏิ นี้อีก อย่าง ๑.
  40. ฉฬภิญฺญาปฏิสมฺภิทาทิปฺปเภทคุณปฏิมณฑิต : (วิ.) ผู้ประดับเฉพาะแล้วด้วยคุณอันต่าง ด้วยธรรมวิเศษมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิ- ทาเป็นต้น, ผู้ประดับประดาแล้วด้วย..., ผู้ อันคุณมีคุณมีอภิญญาหกและปฏิสัมภิทา เป็นต้นเป็นประเภทประดับแล้ว.
  41. เฉกตา : อิต. ความเป็นแห่งบุคคลผู้ฉลาด, ความฉลาดเฉียบแหลม
  42. ชงฺฆ : (ปุ.) ทางอันบุคคลดำเนินไปด้วยแข้ง, ทางเท้า. ส. ชงฺฆา.
  43. ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
  44. ชยเภริ : (อิต.) กลองอันบุคคลพึงตีในคราวมี ชัย.
  45. ชาตเวท : (ปุ.) ไฟมีเปลวอันเกิดแล้วอันบุคคล พึงรู้, ไฟเครื่องประสมซึ่งเปลว, ไฟ, เปลว ไฟ. วิ. ชาเต อุปฺปนฺเน วินฺทติฌาปยตีติ ชาตเวโท. อนฺธกาเร ชาตํ วิชฺชมานํ วินฺทติ ลภติ ชานาติ วา เอเตนาติ วา ชาตเวโท. ชนนํ ชาตํ เวโท ปากโฏ ยสฺส วา โส ชาตเวโท.
  46. เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
  47. ญาณผุสนา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึงถูก ต้องคือญาณ, ความถูกต้องคือญาณ,ความถูกต้องด้วยญาณ.
  48. ญาตปริญฺญา : (อิต.) ธรรมชาติอันบุคคลพึง กำหนดรู้อันตนรู้แล้ว, การกำหนดรู้ด้วย ความรู้.
  49. ญายปฏิปนฺน : (วิ.) ถึงเฉพาะแล้วซึ่งธรรม เป็นเครื่องออกไป, ถึงเฉพาะแล้วซึ่ง ธรรมอันควร, ปฏิบัติควร, ปฏิบัติเพื่อ พระนิพพาน.
  50. ฐปิตมณิรตน : (นปุ.) แก้วคือแก้วมณีอันบุคคล ตั้งไว้.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-509

(0.0330 sec)