Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ่งเล็กสิ่งน้อย, เล็ก, สิ่ง, น้อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ่งเล็กสิ่งน้อย, 522 found, display 151-200
  1. ขาทิตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งอันเขาเคี้ยวกินแล้ว, การถูกเคี้ยวกินแล้ว
  2. ขุทฺทกนที : อิต. แม่น้ำเล็กๆ, แม่น้ำน้อย
  3. ขุทฺทสข, - สงฺข : ป. หอยเล็ก
  4. ขุทฺทสงฺข : (ปุ.) หอยเล็ก, หอยเล็กๆ. วิ. ขิทฺโท เอว สํโข ขุทฺทสํโข ขุทฺทสงฺโข วา.
  5. ขุทฺทา : (อิต.) แมลงวัน, ผึ้ง, ผึ้ง ขนาดเล็ก. ขุทฺ ปิปาสายํ, โท.
  6. ขุทฺทานุขุทฺทก : (นปุ.) วัตรน้อย และวัตรน้อย- โดยลำดับ, วัตรน้อยและวัตรใหญ่ (จูฬวตฺ- ตมหาวตฺต) วัตรปฏิบัติน้อยใหญ่, วัตร ปฏิบัติอันเป็นขนบธรรมเนียมอันดีงาม.
  7. ขุลฺล : ค. น้อย, เลว
  8. ขุลฺลตาต : (ปุ.) พ่อเล็ก, อา (น้องของพ่อ).
  9. เขฏก : (นปุ.) โล่ (เครื่องป้องกันศัตราวุธ), ดั้ง (เครื่องมือสำหรับป้องกันอาวุธ รูป คล้ายกาบกล้วย), เขน (เครื่องมือสำหรับ ป้องกันอาวุธ รูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า), แพน (สิ่งที่มีลักษณะเป็นแผ่น สำหรับคัดท้าย แพและซุง เป็นต้น). เขฏฺ ภกฺขเณ, ณฺวุ.
  10. คพฺโภทร : (นปุ.) เนื้อนี้ของโค วิ. คุนฺนํ อิทํ มํสํ คพฺยํ. ย ปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕. สิ่งนี้มีอยู่ในวัว วิ. คเว ภวํ คพฺยํ. ณฺย ปัจ. ชาตาทิตัท. รูปฯ ๓๖๓.
  11. คุลี : (ปุ.) ยาเม็ด, โรคฝีเม็ดเล็ก.
  12. โคธก : (ปุ.) คนค่อม, นกกระเต็นน้อย ฯ.
  13. โคธกา : อิต. นกกระเต็นน้อย, นกกางเขน
  14. ฆานินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในการสูดดม อินทรีย์คือจมูก, ฆานินทรีย์ (สิ่งที่เป็น ใหญ่ในหน้าที่ดม).
  15. จกฺก : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องทำซึ่งการไป วิ. กโรติ คมน มเนนาติ จกฺกํ. กรฺ กรเณ, อ. เทว๎ภาวะ ก แล้วแปลง ก เป็น จ แปลง ก ตัวธาตุเป็น กฺก ลบที่สุดธาตุ. วัตถุอันหมุน ไป, ล้อ, ล้อรถ. จกฺ ปริวตฺตเน, โก. เสนา (พล กองพล), พล, กองพล, กองทัพบก. วิ. กรียเต วิคฺคโห อเนนาติ จกฺกํ. จักรชื่อ เครื่องประหารอย่างหนึ่ง มีรูปกลม มีแฉก โค้งโดยรอบ. วิ. จกฺเกติ พยฺถติ หึสติ เอเตนาติ จกฺกํ. จกฺกฺ พฺยถเน, อ. จักร ชื่อ สิ่งที่มีรูปกลม มีฟันเฟืองโดยรอบ, สมบัติ ,คุณสมบัติความดี,ความเจริญ, เครื่องหมาย , ลักษณะ( ลายจักรที่ฝ่าเท้าของคนมีบุญ ) ,ธรรม (ธรรมจักร), ข้อสั่งสอน, คำสั่งสอน จักร(มณฑลหรือวงรอบ), อุ อาณาจักร, ทาน(ไทยธรรม), กอง, ส่วน, คำ, “จักร” ไทย ใช้เรียกชื่อเครื่องกล เช่น เครื่องจักร รถจักร เป็นต้น. ส. จกฺร.
  16. จกฺกลิก : นป. ผ้าผืนเล็ก (สำหรับหน้าต่าง), ม่านหน้าต่าง, บังตา
  17. จกฺขุนฺทฺริย : (นปุ.) อินทรีย์คือจักษุ, จักขุน ทรีย์ (สิ่งที่เป็นใหญ่ในการเห็น).
  18. จตฺตตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่ถูกสละ, ความเป็นสิ่งที่ถูกทอดทิ้ง, การบริจาค
  19. จตุรุสฺสท : ค. หนาแน่นด้วยเหตุสี่ประการ, พรั่งพร้อมด้วยสิ่งประกอบสี่อย่าง คือ ประชาชน, ข้าว,ไม้, และน้ำ
  20. จสก : (ปุ.) ขัน (ภาชนะสำหรับตักหรือใส่น้ำ), จอก (ภาชนะเล็กๆสำหรับตักน้ำในขัน ใหญ่), กระบวย (ภาชนะสำหรับตักน้ำทำ ด้วยกะลามะพร้าว มีด้ามถือ ทำด้วยสิ่ง อื่นๆบ้าง), แก้วน้ำ. จสฺ ภกฺขเณ, อ, สตฺเถโก. อภิฯ และฎีกาฯ ลง ณฺวุ ปัจ.
  21. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  22. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  23. จิงฺคุลก : (ปุ.) กังหัน, ไม้กังหัน (สิ่งที่ประกอบ ด้วยใบพัด หมุนได้ด้วยกำลังลม). จิงฺคุลฺ ปริพฺภมเน, ณฺวุ.
  24. จิณฺณตฺต : นป. ความเป็นสิ่งที่เคยประพฤติมา, ธรรมเนียม, ประเพณี, นิสัย
  25. จิตฺตกิเลส : ป. สิ่งที่ทำให้จิตเศร้าหมอง, ความเศร้าหมองแห่งจิต
  26. จิตฺตตา : อิต. จิตฺตตฺต นป. ความเป็นสิ่งวิจิตร, ความเป็นสิ่งสวยงาม
  27. จิตฺตทุพฺภก : ป. สภาวธรรมอันประทุษร้ายจิต, สิ่งที่ทำลายจิตใจ, จิตใจชั่วร้าย
  28. จุลปิตุ จุลฺลปิตุ จุฬปิตุ จูฬปิตุ : (ปุ.) บิดาน้อย, อา ( น้องของพ่อ แต่ก่อนเขียนอาว์ ).
  29. จุลหสมหาหสกกฺกฏหชาตก : (นปุ.) ชาดกอัน บัณฑิตกำหนดแล้วด้วยหงส์น้อยและหงส์ ใหญ่และปู.
  30. จุฬ จูฬ : (วิ.) น้อย, ฯลฯ, ยอด, เยี่ยม, ยอดเยี่ยม, เลิศ.
  31. เจติย : (ปุ.) เทวาลัย, ถูป (เจดีย์), สตูป (เป็นภา ษาสันสกฤต), สถูป (มาจาก สตูป แปลง ต เป็น ถ), เจดีย์ ชื่อสิ่งที่ก่อสร้างขึ้น มีรูป คล้ายลอมฟาง มียอดแหลม สำหรับบรรจุ สิ่งที่เคารพนับถือ สิ่งอื่นๆ เช่นต้นไม้ เป็น ต้นที่นับถือ (เชื่อว่า) มีเทวดาสถิตอยู่ ก็นับ เข้าเจดีย์ได้. วิ. เจตพฺพนฺติ เจติยํ. จิตฺ ปูชายํ, โณฺย. อิอาคโม. ย ฐาน ชเนหิ อิฏฺฐกาทีหิ เจตพฺพ ตสฺมา ต ฐาน เจติย. จิตฺจยเน, ณฺย, อิ อาคโม.
  32. ฉตฺต ฉตฺร : (นปุ.) กาย, ร่างกาย, ร่ม (เครื่องสำหรับกางป้องกันแดดเป็นต้น). วิ. อาตปาทึ ฉาเทตีติ ฉตฺตํ ฉตฺรํ วา. ฉทฺ สํวรเณ อปวารเณ จ, โต, ตฺรโณ. ฉัต ฉัตร ชื่อของเครื่องกกุธภัณฑ์ อย่าง ๑ ใน ๕ อย่าง อีกอย่างหนึ่งเป็นชื่อของเครื่องสูง ทำเป็นชั้นๆ มีเสาเป็นแกน ชั้นใหญ่อยู่ ข้างล่าง ชั้นถัดขึ้นไปเล็กลงตามลำดับ ทำ ชั้นบ้าง ๕ ชั้นบ้างทำเป็น ๗ ชั้น สำหรับท่านผู้มีเกียรติอย่างสูง สำหรับพระ ราชาทำเป็น ๙ ชั้น ผู้อื่นจะทำเป็น ๙ ชั้น ไม่ได้ ส. ฉตฺร.
  33. ฉทฺทาฉิทฺท : (วิ.) เป็นช่องและช่องอันเจริญ, เป็นช่องน้อยช่องใหญ่, ทั้งช่องน้อยทั้งช่องใหญ่.
  34. ฉาป ฉาปก : (ปุ.) ลูกน้อย. ฉุปฺ สมฺผสฺเส, โณ, อุสฺสาตฺตํ (แปลง อุ เป็น อา) ศัพท์หลัง ก สกัด.
  35. ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
  36. ฉิทฺทาวจฺฉิทฺทก : ค. มีรอยแตกและรู, มีช่องน้อยช่องใหญ่
  37. ฉุริกา, ฉูริกา : อิต. มีดน้อย, กริช
  38. เฉทนก : ๑. นป. สิ่งที่ต้องตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม, วิธีการตัดให้ถูกต้องตามวินัยกรรม ; ๒. ผู้ตัด, ผู้บั่น, ผู้ทอน, ผู้ฉีก
  39. ชคติรห : ป. ต้นไม้, สิ่งที่ขึ้นบนแผ่นดิน
  40. ชฏา : (อิต.) ผมเกล้า, ผมที่เกล้า, เกล้าผม, มวยผม (ผมที่เกล้าเป็นมวยสูงขึ้น), ผม เกล้าของดาบส, เทริด ชื่อเครื่องประดับ ศรีษะ รูปมงกุฎอย่างเตี้ย มีกรอบหน้า, เชิง คือตีน ซึ่งเป็นฐานที่ตั้งของบางสิ่ง บางอย่าง ชายหรือปลายของบางสิ่ง บางอย่าง, ความยุ่ง, ความรุงรัง, ความรก, ชัฏ ( ป่ารก ป่าทึบ เชิง ), ชฎา ชื่อเครื่อง สวมศรีษะ คล้ายมงกุฎ. ชฏฺ ชฏเน สงฺฆาเต วา, อ. ส. ชฎา.
  41. ชตุมฏฺฐก : นป. สิ่งที่ปิดด้วยครั่ง, สิ่งที่ประทับครั่ง
  42. ชนาลย : (ปุ.) ปะรำ ชื่อของสิ่งปลูกสร้างทำ ขึ้นชั่วคราว มีเสาหลังคาแบน ดาดด้วยผ้า หรือสิ่งอื่นๆ, มณฑป ชื่อของเรือนยอดรูป สี่เหลี่ยม วิ. ชนาน มาลโย สนฺนิปาตฏฺฐานํ ชนาลโย.
  43. ชมฺภนา : (อิต.) การเหยียด (ทำสิ่งที่งอให้ตรง), การเหยียดกาย. ชภิ คตฺตวิมาเน, ยุ, นิคคหิตาคโม.
  44. ชานนีย : ค. อันเขาพึงรู้, สิ่งที่ควรรู้, ซึ่งน่ารู้
  45. ชิญฺชุก : (ปุ.) มะกล่ำ, มะกล่ำเครือ มะกล่ำ ตาหนู ก็เรียก, กระพังโหม ชื่อไม้เถามี กลิ่นเหม็น ใบเรียวเล็ก ใช้ทำยา. ชญฺชฺ ยุทฺเธ, อุโล, อสฺสิ.
  46. ชีวิตปริกฺขาร : ป. บริขารแห่งชีวิต, สิ่งที่จำเป็นแก่ชีวิต, สิ่งที่ชีวิตต้องอาศัยเป็นอยู่
  47. ฌาฏล : (ปุ.) ไม้มวกใหญ่, ไม้มวกมี ๒ ชนิด คือ มวกเล็กและมวกใหญ่ ใช้ทำยาทั้งสอง อย่าง, ไม่สะคร้อ ตะคร้อก็เรียก, โตนด (ตาล ต้นตาล). ฌฏฺ สํฆาเต, อโล ทีฆะ ต้นธาตุ.
  48. ฏงฺก : ป. สิ่ง, เครื่องมือสกัดหิน
  49. ฐกฺกุร : นป. สิ่งที่ควรเคารพ, รูปที่ควรเคารพ
  50. ฐานาฐาน : (นปุ.) ความเป็นไปได้และความเป้นไปไม่ได้, สิ่งที่เป็นไปได้และสิ่งที่เป็น ไปไม่ได้, ฐานะและอฐานะ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | [151-200] | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-522

(0.0201 sec)