Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ่งเล็กสิ่งน้อย, เล็ก, สิ่ง, น้อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ่งเล็กสิ่งน้อย, 522 found, display 351-400
  1. เลขา : อิต. สิ่งที่เขียน, ตัวอักษร, อักขระ, ไร่ป่า, แถว, แนว
  2. โลกวชฺช : นป. สิ่งที่ชาวโลกติเตียน
  3. โลกิก, - กิย : ค. สิ่งที่เป็นโลกิยะ
  4. โลกุตฺตร : ค. โลกุตร, สิ่งที่หลุดพ้นแล้วจากโลก
  5. วชฺช : ๑. นป. โทษ, ความผิด; เครื่องดนตรี; สิ่งที่ควรเว้น; ๒. ค. อันเขาพึงกล่าว, ควรพูดติ
  6. วาหน : นป. สิ่งที่นำไป, พาหนะ
  7. สงฺขนย : นป. หอยเล็ก
  8. สปฺปสวจฺฉร สปฺปกสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) มะเส็ง, ปีมะเส็ง, ปีงูเล็ก.
  9. สพฺพกามทท : (วิ.) ผู้ให้ซึ่งความใคร่ทั้งปวง, ผู้ให้ซึ่งสิ่งที่ใคร่ทั้งปวง. วิ. สพฺพกามํ ทโท สพฺพกามทโท.
  10. สพฺพญฺชห : (วิ.) ผู้สละซึ่งธรรมทั้งปวง, ผู้สละซึ่งสิ่งทั้งปวง. สพฺพ+ชห ซ้อน ฺญฺ.
  11. สพ.พทท : (ปุ.) การให้ซึ่งสิ่งทั้งปวง.
  12. สพฺพทท : (วิ.) ผู้ซึ่งให้สิ่งทั้งปวง.
  13. สภาวธมฺม : (ปุ.) ความเป็นเอง, สิ่งที่เกิดเอง, สิ่งที่เป็นเอง, หลักแห่งความเป็นเอง, สภาวธัมม์ สภาพธรรม ได้แก่ ขันธ์ ๕ อายตนะ ๑๒ ธาตุ ๑๘ อินทรีย์ ๒๒.
  14. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  15. สมฺปตฺติ : (อิต.) คุณชาติอันเขาพึงถึงพร้อม, คุณชาติอันเขาถึงพร้อม, การถึงพร้อม, ความถึงพร้อม, ความดี, ความดีเด่น, ความดีเด่นของสิ่งนั้น ๆ, คุณภาพ, ความมีคุณภาพ, สมบัติ. สํปุพฺโพ, ปทฺคติยํ, ติ, ติสฺส ตฺติ. ทฺโลโป. ส. สมฺปตฺติ.
  16. สมาธิ : (ปุ.) ความตั้งมั่น, ความตั้งใจมั่น, ความตั้งมั่นด้วยดีแห่งจิต, ความตั้งมั่นด้วยดีในจิตในอารมณ์เดียว, ความไม่ส่ายไปแห่งจิต, ความสำรวมใจให้แน่วแน่, การตั้งจิตไว้ด้วยดีในอารมณ์เดียว, สมาธิ คือ ความที่จิตมีอารมณ์เป็นหนึ่ง ความที่จิตตั้งมั่นอยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งโดยเฉพาะ ความที่จิตแน่วแน่อยู่ในอารมณ์ใดอารมณ์หนึ่งเฉพาะ ความที่จิตเพ่งอยู่สิ่งใดสิ่งหนึ่งโดยเฉพาะ. วิ. เอกาลมฺพเน สํ สุฏฐุ อาธานํ สมาธิ. สํปุพฺโพ, ธา ธารเณ, อิ. รูปฯ ๕๘๒ วิ. สมฺมา สมํ วา จิตฺตํ อาทธาตีติ สมาธิ. สมาธิใช้เป็นกุศลธรรมเป็นส่วนมากแต่ในที่บางแห่งท่านต้องการให้ชัดจึงเติมศัพท์ที่บ่งชัดไว้ข้างหน้าฝ่ายดี ท่านเติม สมฺมา เป็น สมฺมาสมาธิ ฝ่ายชั่ว ท่านเติม มิจฺฉา เป็นมิจฺฉาสมาธิ ดูคำ สติ ประกอบ. ส. สมาธิ.
  17. สลากา : (อิต.) ซี่, ซี่ไม้, ติ้ว, ตั๋ว, สลาก ฉลาก คือ สิ่งที่ทำไว้สำหรับจับเสี่ยงทายโดยมีเครื่องหมายกำกับ เป็นการทำบุญเป็นสังฆทาน. สลฺ คติยํ จลเน วา. อาโก, อิตฺถิยํ อา.
  18. สฺวปฺป : (วิ.) ประมาณน้อย, พอประมาณ. สุฎฐุ+อปฺป ลบ ฎฐุ แปลง อุ ที่ สุ เป็น ว.
  19. สหคต : (วิ.) เป็นไปกับ, เป็นสิ่งนั้น, เป็นอย่างนั้น, ไปด้วยกัน, ไปพร้อมกัน, เป็นไปพร้อมกัน. ทางอภิธรรมแปลว่า เกิดพร้อม. ศัพท์ สมฺปยุตฺต แปลว่า ประกอบ. สหปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, โต, มฺโลโป. ที่เป็นกิริยากิตก็แปลว่า ไปร่วมกันแล้ว ไปแล้วด้วยกัน, ฯลฯ.
  20. สาขา : (อิต.) กิ่ง, กิ่งไม้, ก้าน, สิ่งย่อย, ส่วนย่อย, ห้วย. สาขฺ พฺยาปเน, อ. ส. ศาขา.
  21. สิงฺค : (นปุ.) เขา (อวัยวะที่ตั้งอยู่ที่ศรีษะ), เขาสัตว์, นอ (สิ่งที่งอกอยู่เหนือจมูกแรด), งา, งาช้าง. วิ. สยติ ปวตฺตติ มตฺถเกติ สิงฺคํ. สิ สเย, โค, นิคฺคหิตาคฺโม, สิ เสวายํ วา.
  22. สิตปณฺณาส : (ปุ.) แมงลัก ชื่อผัก ใบคล้ายโหระพา กินได้ทั้งใบและเม็ด เม็ดนั้นแช่น้ำกินกับน้ำกะทิหวาน, อ้อยช้าง ชื่อพรรณไม้ใช้ทำยาไทย, ผักบุ้งรวม ชื่อผักบุ้งชนิดหนึ่ง ต้นเปนขนใบเล็กรสชมใช้ทำยาไทย. วิ. สิดต สุกฺโก ปณฺราโส สิตฺปณฺณาโส.
  23. สิปฺป : (นปุ.) สิปปะ ศิลปะ. วิชาความรู้ที่ได้มาจากการศึกษาทุกอย่าง ซึ่งสามารถนำมาใช้ในการประกอบกิจเลี้ยงชีวิตในทางสุจริต เรียกว่า สิปปะ หรือ ศิลปะตามภาษาสันสกฤต พระพุทธเจ้าตรัสว่าเป็นมงคลคือเหตุที่ทำให้ผู้ปฏิบัติตามถึงความเจริญ เป็นมงคลที่ ๘ ในมงคล ๓๘ . สิกฺขฺ วิชฺโชปาทาเน, ปฺปปจฺจโย, กฺขฺโลโป, สิ สยเสวาสุ วา, ปฺปปจฺจโย, สปฺปฺ คติยํ วา, อ, อสฺสิ. คำ ศิลปะ ไทยใช้ความว่าฝีมือทางการช่าง ที่ผู้ทำทำได้คล่องแคล่วกว่า หรือดีเด่นกว่า งดงามกว่าช่างด้วยกันหรือสิ่งที่สำเร็จจากฝีมือนั้น ทำให้เกิดอารมณ์สะเทือนใจได้ดีกว่าช่างอื่น. ส. ศิลฺป.
  24. สิปาฏิกา : อิต. ถังเล็ก, รังเล็ก
  25. สิริสยนปาลก : (ปุ.) จางวางมหาเล็ก.
  26. สิลาภู : (ปุ.) งูเห่า, งูเขียว, งูเล็ก. วิ. ปฐมกาเล สิลายํ ภวตีติ สิลาภู. ภู สตฺตายํ, กฺวิ.
  27. สิเลส : (ปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  28. สิเลสน : (นปุ.) การกอด, การกอดรัด, การสวมกอด, การรวมกัน, การร่วมสมพาส (ร่วมประเวณี), การติดต่อ, การติดต่อกัน, การข้อง, การข้องอยู่, การเกี่ยวข้อง, ยาง, ยางไม้, ยางเหนียว, ตัง (ยางไม้ที่ผสมกับสิ่งอื่นแล้วทำให้เหนียว สำหรับดักนกเป็นต้น). สิลิสฺ อาลิงฺคเน, อ, ยุ.
  29. สิสฺสานุสิสฺส : (ปุ.) ศิษย์และศิษย์น้อย, ศิษย์ใหญ่และศิษย์น้อย, ศิษยานุศิษย์, ไทยใช้เป็น ศานุศิษย์ ก็มี.
  30. สุงฺก : (ปุ. นปุ.) ภาษี, อากร คือค่าธรรมเนียมที่รัฐบาลเรียกเก็บจากสิ่งที่เกิดจากธรรมชาติหรือสิ่งที่ทำขึ้นเพื่อการค้า, ส่วย คือของที่เรียกเก็บจากพื้นเมืองส่งเป็นภาคหลวงตามวีเรียกเก็บภาษีอากรสมัยโบราณ หรือเงินช่วยเหลือราชการที่กำหนดเรียกเก็บจากราษฎร สมัยก่อนชายที่ไม่ได้เป็นทหารจะต้องเสียส่วยให้รัฐบาลปีละ ๖ บาท. วิ. สํกติ เยน ตํ สุงฺกํ. สํก คมเน, อ.
  31. สุงฺกฆาต : (ปุ.) สุงกฆาตะ ชื่ออวหาร (การลัก) ชนิดหนึ่ง คือการลักนำของผ่านด่านภาษี หรือของมากซ่อนเสียให้เห็นแต่น้อย.
  32. สุตนุ : ค. มีร่างกายงาม, มีบั้นเอวงาม, เอวเล็กเอวบาง
  33. สุทสฺส : (วิ.) อันบุคคลพึงเห็นได้โดยง่าย. วิ. สุเขน ปสฺสิตพฺพนฺติ สุทสฺสํ. ทิสฺ เปกฺขเณ, โข. แปลง ทิสฺ เป็น ทสฺส. ผู้เห็นสิ่งต่างๆ ด้วยดีเพราะความที่แห่งตนเป็นผู้ถึงพร้อมด้วยปสาทจักขุและทิพพาจักขุที่บริสุทธิ์ วิ. ปริสุทฺเธหิ ปสาททิพฺพจกฺขูหิ สมฺปนฺนตา สุฏฺฐุ ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสา.
  34. สุทสฺสี : (ปุ.) สุทัสสี ชื่อรูปพรหมชั้นที่ ๑๕ ชื่อภพเป็นที่อุบัติของสุทัสสีพรหม ชื่อพรหมผู้เป็นสิ่งต่าง ๆ ได้โดยความสะดวก วิ. สุเขน ปสฺสนฺตีติ สุทสฺสี ชื่อพรหมผู้บริบูรณ์ดีในการเห็นมากยิ่งกว่าสุทัสสพรหม.
  35. เสฎฐ : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, สิ่งอันบุคคลปรารถนา, ฯลฯ, ทรัพย์. สิสฺ อิจฺฉายํ, โต, ตสฺส ฎฺโฐ, สฺโลโป, อิสฺเส.
  36. เสฎฺฐ : (ปุ.) คนผู้มีสิ่งอันบุคคลปรารถนา, คนมีทรัพย์, เศรษฐี. วิ. เสฎฺฐํ อสฺส อตฺถีติ เสฎฺฐ. อี ปัจ.
  37. เสตมฺพ : (ปุ.) มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน, มะม่วงหวาน. วิ. เสตวณโณ อมฺโพ เสตวณฺโณ. มะม่วงป่า สวายสอ ก็แปล.
  38. เสยฺยถีห : (อัพ. นิบาต) แล เป็น ปทปูรณะบ้าง ลงอรรถว่า อ. สิ่งนี้ (อิทํ วตฺถุ) คืออะไร (เสยฺยถา) บ้าง, อย่างไรนี้ บ้าง.
  39. หตฺถสิกฺขา : (อิต.) การศึกษาวิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศึกษา คือวิชาเกี่ยวกับการประดิษฐ์สิ่งต่าง ๆด้วยมือ. วิ. หตฺถพทฺธวิชฺชาย สิกฺขา หตฺถสิกฺขา. ลบ พทฺธวิชฺชา.
  40. หตฺถสิปฺป : (นปุ.) วิชาเนื่องด้วยมือ, หัตถศิลป์ คือวิชาเกี่ยวกับการใช้มือทำสิ่งต่าง ๆ หัตถศิลป์ ไทยใช้ในความหมายว่า การช่างทำด้วยมือ.
  41. หตฺถิฉาป หตฺถิจฉาป : (ปุ.) ช้างผู้ลูกน้อย, ลูกช้าง.
  42. หยโปตก : (ปุ.) ม้าผู้ลูกน้อย, ลูกม้า.
  43. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  44. หิตานุหิตปโยชน : (นปุ.) ประโยชน์เกื้อกูลน้อยใหญ่, หิตานุหิตประโยชน์.
  45. หิริโกปีน : นป. สิ่งที่ยังหิริให้กำเริบ, สิ่งที่ทำให้เกิดความละอาย
  46. เหตุ : (ปุ.) มูลเค้า, เค้ามูล, ข้อความ, เรื่องราว, เหตุ คือ สิ่งหรือเรื่องที่ทำให้เกิดผล. วิ. หิโณติ ปริณมติ การิยรูปตฺนติ เหตุ. หิ คติยํ, ตุ. หิโณติ ผล เมตฺถาติ วา เหตุหิ ปติฎฺฐายํ. หิโณติ ผลํ เอเตนาติ วา เหตุ. หิ ปวตฺตเน. ส. เหตุ.
  47. โหราโลจน : (นปุ.) นาฬิกาเล็ก.
  48. อกนิฏฺฐ : (วิ.) ไม่น้อย, สูงสุด, สูงที่สุด, ใหญ่ที่สุด.
  49. อกองฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าวเป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร.อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  50. อก องฺก : (ปุ.) เครื่องหมาย, รอย, สาย, แถว, แนว, รายเรื่อง ส่วน หรือสิ่งที่แยกกล่าว เป็นรายๆ, องก์ ตอนหนึ่งๆหรือชุดหนึ่งๆ ของเรื่องละคร ฉากหนึ่ง ๆ ของละคร. อํกฺ อกิ วา องฺก วา ลกฺขเณ, ฮ. ส. องฺก.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-522

(0.0310 sec)