Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: สิ่งเล็กสิ่งน้อย, เล็ก, สิ่ง, น้อย .

ETipitaka Pali-Thai Dict : สิ่งเล็กสิ่งน้อย, 522 found, display 451-500
  1. อปฺปมตฺตก : นป. ของมีประมาณน้อย, ของไม่สำคัญ
  2. อปฺปมตฺตอปฺปมตฺตก : (วิ.) มีประมาณน้อย.
  3. อปฺปมตฺต อปฺปมตฺตก : (วิ.) มีประมาณน้อย.
  4. อปฺปรชกฺขชาติก : (วิ.) ผู้มีชาติแห่งบุคคลผู้มีธุลีในนัยน์ตาน้อย, ผู้มีกิเลสธุลีในดวงตาน้อย.
  5. อปฺปสตฺถ : (วิ.) มีพวกน้อย.
  6. อปฺปสฺสก : ค. มีสมบัติน้อย, ยากจน
  7. อปฺปสฺสาท : ค. มีความเพลิดเพลินน้อย, มีความยินดีนิดหน่อย
  8. อปฺปาตงฺก : ค. มีความลำบากน้อย, ซึ่งเดือดร้อนนิดหน่อย
  9. อปฺปิกา : อิต. ความมีประมาณน้อย
  10. อปฺปิจฺฉตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อย.
  11. อปฺปิจฺฉตาทิคุณยุตฺต : (วิ.) ผู้ประกอบแล้วด้วยคุณมีความเป็นแห่งบุคคลผู้มีความปรารถนาน้อยเป็นต้น.เป็นฉ.ตุล.ตา ปัจ.ภาวตัท.ฉ.ตุล.วิเสสนบุพ.กัม.และต.ตัปเป็นสมาสใหญ่.
  12. อปฺปิจฺฉา : (อิต.) ความปรารถนาน้อย.
  13. อปฺเปสกฺข : ค. มีศักดิ์น้อย, มีอำนาจน้อย
  14. อปฺโปทก : ค. มีน้ำน้อย, มีน้ำนิดหน่อย
  15. อปฺโปสฺสุกฺก : ค. มีความขวนขวายน้อย, ซึ่งไม่พยายาม
  16. อปรปจฺจย, อปรปฺปจฺจย : ค. ไม่อาศัยสิ่งอื่น
  17. อภพฺพ : (วิ.) ไม่ชอบ, ไม่ควร, ไม่สมควร, ไม่เป็นไปได้, เป็นไปไม่ได้, อาภัพ(ตกอับวาสนาน้อย).ส.อภวฺย.
  18. อมชฺช : นป. หน่อ, ตุ่ม, ช่อ, สิ่งที่มิใช่น้ำเมา
  19. อมฺพก : ๑. ป. มะม่วงเล็ก ; ๒. ค. ด้อย, โง่, มีปัญญาทราม
  20. อมม : ค. ไม่ยึดถือสิ่งใดว่าเป็นของของตน, ไม่เข้าข้างตัว
  21. อรูปกายิก : ค. ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งที่ไม่มีรูป
  22. อวเสสก : นป., ค. สิ่งที่เหลือลง, ส่วนเหลือ, เศษ
  23. อวิห : (ปุ.) อวิหะชื่อของรูปพรหมชั้นที่ ๑๒ชื่อของภพเป็นที่เกิดของอวิหพรหมชื่อของพรหมผู้ไม่ละสถานที่ของตนโดยเวลาเล็กน้อย.วิอปฺปเกนกาเลนอตฺตโนฐานนวิชหนฺตีติอวิหา.พรหมผู้ไม่เสื่อมจากสม-บัติของตนวิ.อตฺตโนอตฺตโนสมฺปตฺติยานหายนฺตีติอวิหา.
  24. อสทิส : ค. ไม่เหมือนกัน, ไม่มีสิ่งเปรียบ
  25. อสปฺปายเสวน : (นปุ.) การเสพของอันไม่เป็นสัปปายะ, การเสวนะกับสิ่งที่เป็นอันตรายแก่การปฏิบัติ, ของแสลง.
  26. อสฺสาชาเนยฺย : (ปุ.) ม้าผู้อาจในอันรู้ซึ่งเหตุพลันม้าผู้อาจในความรู้ซึ่งเหตุและสิ่งมิใช่เหตุโดยยิ่ง, ม้าอาชาไนย.
  27. อสีตฺยานุพฺยญฺชน : (นปุ.) ลักษณะน้อยแปดสิบ, ส่วนย่อยแปดสิบ, อนุพยัญชนะแปดสิบ.
  28. อสุภกถา : อิต. กถาอันว่าด้วยความไม่สะอาด, ถ้อยคำพรรณนาถึงสิ่งที่น่าเกลียด
  29. อาจม : (ปุ. นปุ.?) สิ่งที่ควรล้าง, สิ่งที่ควรชำระ, ขี้.อาจมุ โธวเน, อ.ส.อาจม.
  30. อาณิทฺวาร : นป. ประตูเล็ก
  31. อาทยุปลทฺธิ : (อิต.) ความรู้สิ่งที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องที่เกิดก่อน, ความรู้เรื่องปฐมสัตว์, ปฐมสัตย์วัตถุ.
  32. อานิ : (นปุ.) สิ่งอันบุคคลพึงได้, ผล.อาปุพฺโพ, นิปาปเน, อิ.
  33. อามณฺฑ : (ปุ.) ไม้ละหุ่ง, เทพทาโรชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง เปลือกหอมใช้ทำยา, แฟงชื่อไม้เถาชนิดหนึ่งมีผลกลมยาวแต่ผลเล็กกว่าฟักวิ.อามํวาตํทายตีติอามณฺโฑ.อามปุพฺ-โพ, ทา อวขณฺฑเน, อ, ทสฺส โฑ.ลงนิคคหิตอาคมแล้วแปลงเป็นณฺอถวา, อาปุพฺโฑ, มณฺฑฺภูสเน, อ. อีสํปสนฺนเตล-ตายอามฌฺโฑ.ส.อามณฺฑ.
  34. อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
  35. อารมฺมณ : (นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, ธรรมชาติเป็นที่เหนี่ยวของจิต, ธรรมชาตเป็นที่มารื่นรมย์, ธรรมชาตเป็นที่ยินดีของจิต, เครื่องยึดเหนี่ยวของจิต, เครื่องยึดหน่วงแห่งจิต, ความคิด, ความรู้สึก, เหตุ, โคจร, นิสัยใจคอ ?, อารมณ์(ความเป็นไปแห่งจิตในขณะหนึ่งๆธรรมชาติที่เกิดขึ้นให้จิตรู้สึกสิ่งที่จิตรู้).วิ.อาคนฺตวาอาภุโสวาจิตฺตเจตสิกาธมฺมารมนฺติเอตฺถาติอารมฺมณํ.อาปุพฺโพ, รมฺรมเณ, ยุ
  36. อารห : นป. สิ่งที่สมควร, สิ่งที่เหมาะสม
  37. อาลิงฺคย : นป. กลองเล็ก
  38. อาวิชฺฌนก : นป., ค. สิ่งที่หมุนไปรอบๆ, ที่สำหรับชัก (เชือก) ; ซึ่งเจาะไช, ซึ่งหมุนไปรอบๆ
  39. อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
  40. อาสนฺทิกา : อิต. เก้าอี้เล็ก, ตั่งเตี้ย
  41. อาสนฺนกมฺม : (นปุ.) กรรมที่ทำเมื่อใกล้จุติ, การระลึกถึงสิ่งที่ดีหรือไม่ดีในเวลาใกล้จุติ ชื่อว่า อาสันนกรรม อีกอย่างหนึ่ง การทำดี หรือการทำไม่ดีเวลาใกล้ตาย ชื่อว่า อาสันนกรรม วิ. อาสนฺเน อนุสฺสริตํ อาสนฺนํ, อาสนฺเน วา กตํ อาสนฺนํ. อาสนฺนํ กมฺมํ อาสนฺนกมฺมํ.
  42. อิฏฺฐาภฺยาส : (วิ.) ใกล้สิ่งพอใจ, ฯลฯ.
  43. อิทฺธิปาฏิหาริย : (นปุ.) ความอัศจรรย์อันเกิด จากความสำเร็จ, อิทธิปาฏิหาริย์ (สิ่งที่น่าอัศจรรย์ การแสดงฤทธิ์ได้เป็น อัศจรรย์).
  44. อิทปฺปจฺจยตา : อิต. ความมีสิ่งนี้เป็นปัจจัย
  45. อิทสจฺจาภินิเวส : (ปุ.) ความยึดมั่นว่าสิ่งนี้มีจริง. แปลง อิม เป็น อิทํ เมื่ออยู่หน้าบทสมาส.
  46. อีสก อีส : (อัพ. นิบาต) น้อย, ฯลฯ, ง่าย.
  47. อุกฺกุฏิก : (วิ.) กระหย่ง, กระโหย่ง. (ทำให้สูงขึ้นหรือทำสิ่งที่รวมกันอยู่ให้ ขยายตัวขึ้น).
  48. อุตฺตราวฏฺฏ : (ปุ. นปุ.) การเดินเวียนซ้าย คือ การเดินเวียนโดยมือซ้ายอยู่ทาง (ด้าน) สิ่งที่เรา เวียน, อุตราวัฏ. ส. อุตฺตรวฺฤตฺต.
  49. อุตฺตานสย อุตฺตานสยก อุตฺตานเสยฺยก : (ปุ.) เด็กแดง, เด็กยังเล็ก, เด็กดื่มนม. วิ. อุตฺตานํ สยตีติ อุตฺตานสโย อุตฺตานสยโก วา อุตฺตานเสยฺยโก วา. อุตฺตานปุพฺโพ, สี สเย. ศัพท์ต้น ณ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ ก ปัจ. ศัพที่ ๓ เอยฺยก ปัจ.
  50. อุปชฺฌ : (ปุ.) อุปัชฌาย์ วิ. มนสา อุเปจฺจ วชฺชาวชฺชํ ฌายตีติ อุปชฺฌา (ผู้เพ่งโทษ น้อยใหญ่ของศิษย์). อุป+เฌ+อ ปัจ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-522

(0.0214 sec)