Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้าวเจ้า, เจ้า, ข้าว , then ข้าพเจ้า, ขาว, ข้าว, ข้าวเจ้า, จา, เจ้, เจ้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้าวเจ้า, 625 found, display 301-350
  1. อาโลป : (ปุ.) คำ, คำข้าว, ก้อนข้าว. อาปุพฺโพ สมฺปิณฺฑเน, ลุปฺ เฉทเน, โณ.
  2. อาโลปิก : ค. อันทำเป็นคำข้าว, ประกอบเป็นคำข้าว
  3. อาสถปิณฺฑ : ป. ก้อนข้าวที่เขาเลี้ยงในที่พักคนเดินทาง, อาหารในโรงทาน
  4. อาหุติ : อิต. ของเซ่นเจ้า, ของบูชายัญ
  5. อิณสามิก : ป. เจ้าหนี้, ผู้ให้ยืม
  6. อินฺท : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. อินฺโท วุจฺจติ ปรมิสฺสริยภาวโต.
  7. อินฺทชาลิก : (ปุ.) คนเล่นกล, คนเจ้าเล่ห์, คนเจ้ามายา. วิ. อินฺทชาเล นิยุตฺโต อินฺทชาลิโก.
  8. อินฺทิรา : (อิต.) พระลักษมี ชื่อชายาของพระ นารายณ์ เป็นเจ้าแม่แห่งลาภและความงาม.
  9. อิสร อิสฺสร : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็น จอม. วิ. อีสนํ สามิภวนํ อิสโร อิสฺสโร วา. ส. อีศวร.
  10. อิสฺสร : ป. ผู้เป็นเจ้า, พระอิศวร, พระเจ้าแผ่นดิน, เจ้านายเหนือหัว
  11. อิสฺสริย : (วิ.) ยิ่ง, ใหญ่, ยิ่งใหญ่, เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, ฯลฯ. วโส อิสฺสริยํ โลเก.
  12. อิสฺเสร : (นปุ.) ความยิ่งใหญ่, ความเป็นเจ้า, ความเป็นใหญ่. ณ ปัจ. ภาวตัท สกัด แปลง อ ที่ ส เป็น เอ.
  13. อีส : (วิ.) เป็นเจ้า, เป็นใหญ่, เป็นจอม,น้อย, ง่าย.
  14. อุกฺขลิ : อิต. หม้อหุงข้าว, เครื่องหุงต้ม
  15. อุกฺขลิก : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง.
  16. อุกฺขลิมสิ : (นปุ.) เขม่าที่ก้นหม้อ, ดินหม้อ (ละอองดำ ๆ ซึ่งเกิดจากควันไฟที่หุงข้าว ด้วยฟืนติดอยู่ที่ก้นหม้อ).
  17. อุกฺขลิ อุกฺขา อุขา : (อิต.) หม้อ, หม้อข้าว, กระถาง. วิ. อุสตีติ อุกฺขลิ. อุสฺ ทาเห, อิ, สสฺส ขลาเทโส, กฺสํโยโค. คำที่ ๒, ๓ ตั้ง อุขฺ คมเน, อ. คำที่ ๒ ซ้อน กฺ. ส. อุขา.
  18. อุฏฏณฺฑ : นป. ทรัพย์สมบัติ, ข้าวของเงินทอง
  19. อุตฺตมณฺณ : (ปุ.) เจ้าหนี้. วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมณฺโณ. อิสฺสตฺตํ, ทฺวิตฺตญฺจ. แปลง อิ เป็น อ แล้วแปลง ณ เป็น ณฺณ.
  20. อุตฺตมณ อุตฺตมิณ : (ปุ.) เจ้าหนี้ (ผู้ให้ยืม). วิ. อิเณ อุตฺตโม อุตฺตมโณ อุตฺตมิโณ วา. เปลี่ยนศัพท์ คือเอา อุตฺตม ไว้หน้า ศัพท์ หน้าลบ อิ ที่ อิณ ศัพท์หลังไม่ลบ.
  21. อุตฺตริมนุสฺสธมฺม : (ปุ.) ธรรมของมนุษย์ ผู้ยิ่ง, ฯลฯ, ธรรมอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, คุณอันยิ่งของมนุษย์, ฯลฯ, อุตตริมนุสธัม. อุตตริมนุษยธรรม คือคุณธรรม (ความดี ผล) อันเกิดจากการปฏิบัติสมถะ (สมาธิ) ถึงขั้นจิตเป็นอัปปนา หรือจากการปฏิบัติ วิปัสสนาถึงขั้นละกิเลสเป็นสมุจเฉท มีคำ เรียกคุณธรรมนั้น ๆ อีกหลายคำ พระพุทธ เจ้าทรงห้ามภิกษุอวด ปรับอาบัติขั้นสูงถึง ปาราชิก วิ. อุตฺตริมนุสฺสานํ ญายินญฺเจว อริยานญฺจ ธมฺโม อุตฺตริ มนุสฺสธมฺโม.
  22. อุตฺตุส : ป. ข้าวเผา, ข้าวคั่ว
  23. อุปกาส : (ปุ.) การกล่าวโทษ, การอดข้าว, จำศีล.
  24. อุพฺภตก : (ปุ.) อุพภตกะ ชื่อท้องพระโรง ของเจ้ามัลละ.
  25. โอทน : (ปุ. นปุ.) ข้าว, ข้าวสุก, ข้าวสวย, กระยาหาร. วิ. อุทฺทียตีติ โอทโน. อุทิ ปสวนกิเลทเนสุ, ยุ, อุทิสฺส โอโท (แปลง อุทิ เป็น โอท.
  26. โอทนสมฺภว : (ปุ.) เมล็ดข้าว, เมล็ดข้าวสุก.
  27. โอทนิย : ค. ซึ่งทำจากข้าวสุก, ซึ่งทำจากข้าวต้ม
  28. โอวาทปาฏิโมกฺข โอวาทปาติโมกฺข : (ปุ.) คำสั่งสอนอัน เป็นประธานโดยความเป็นใหญ่, โอวาทปาฏิโมกข์, โอวาทปาติโมกข์ ชื่อ โอวาทซึ่งประพุทธเจ้าทรงแสดงแก่พระอรหันต์ ๑๒๕๐ องค์ เป็น เอหิภิกขุอุป สัมปทา ทั้งสิ้น ซึ่งมาประชุมกันโดยมิได้ นัดหมาย ณ วันเพ็ญมาฆบูชาหลังตรัสรู้ แล้วได้ ๙ เดือน เป็นหลักสำคัญ (หัวใจ) ของพระพุทธศาสนา มหาปธานสูตร ที. มหา. ไตร. ๑๐/๕๔.
  29. จาควนฺตุ : ค. ผู้มีจาคะ, ผู้มีความเผื่อแผ่, ผู้มีความเสียสละ
  30. จาคาธิฏฐาน : ป. ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือจาคะ, ธรรมที่ควรตั้งไว้ในใจคือการสละสิ่งที่เป็นข้าศึกแก่ความจริงใจ (อธิษฐานธรรมอย่างหนึ่งในอธิษฐานธรรมสี่)
  31. จาคานุสฺสติ : อิต. จาคานุสติ, การระลึกถึงทานที่ตนได้บริจาคแล้ว
  32. จาตุทฺทสิก : ค. ซึ่งเป็นไปในวันจาตุททสี, เกี่ยวกับวันจาตุททสี
  33. จาตุทฺทสี : (วิ.) (ดิถี.) ที่สิบสี่ วิ. จตุทฺทสนฺนํ ปูรณี จาตุทฺทสี อี ปัจ. ปูรณตัท.
  34. จาตุพฺเพท : ป. พระเวทสี่ (ใช้เฉพาะในรูปพหุวจนะ = จาตุพฺเพทา)
  35. จาตุมฺมหาราชิก : (วิ.) (เทวดา) ชั้นจาตุมมหา- ราช วิ. จาตุมฺมหาราเชสุ ภตฺติ เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้ภักดีในท้าวมหาราช ทั้งสี่องค์ ). รูปฯ ๓๖๐. จาตุมฺมหาราเชสุ ถตฺตา เอเตสนฺติ จาตุมฺมหาราชิกา ( ผู้รับ ใช้ในท้าวมหาราชทั้งสี่องค์). โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๒ ณิกปัจ. สกัด.
  36. จาตุรนฺตรสิ : (วิ.) มีรัศมีแผ่ไปในทิศทั้งสี่ (พระอาทิตย์), จาตุรนต์รัศมี.
  37. จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
  38. จาริตฺตสีล : นป. จาริตตศีล, ศีลที่ประพฤติเป็นอาจิณ
  39. จาตก : (ปุ.) นกกระเต็น วิ. โย โอกาสํ อพฺภุคฺ- คนฺตฺวา โอตริตฺวา อุทกพฺภนฺตเร มจฺเฉ คณฺหาติ โส นีลสกุโณ จาตโก นาม. จตฺ ยาจเน, ณฺวุ.
  40. จาตุกุมฺมาส : ป. ขนมกุมมาส (ทำด้วยข้าวต้มผสมนมเปรี้ยว) มีส่วนผสมสี่อย่าง
  41. จาตุทฺทิส : ค. มีในทิศทั้งสี่, ซึ่งเป็นไปในทิศทั้งสี่; ผู้มาแต่ทิศทั้งสี่
  42. จาตุทฺทีป : ค. (กษัตริย์) ผู้ปกครองทวีปทั้งสี่
  43. จาตุทฺทีปก, - ปิก : ดู จตุทฺทีปิก
  44. จาตุมฺมหาปถ : (ปุ.) ทางใหญ่สี่, ภูมิภาคเป็น ที่ประชุมแห่งทางใหญ่สี่, หนทางเป็นที่ ไปแห่งทางใหญ่สี่, ทางใหญ่สี่แพร่ง.
  45. จาตุมฺมหาภูติก : ค. ดู จตุมหาภูติก
  46. จาตุมฺมหาราช : (ปุ.) มหาราชสี่พระองค์.
  47. จาตุมฺมาสินี : อิต. ดิถีเป็นที่เต็มแห่งเดือนทั้งสี่, วันเพ็ญแห่งเดือนที่สี่ (ของแต่ละฤดู)
  48. จาตุรงฺค : (วิ.) มีองค์สี่.
  49. จาตุริย : นป. ความฉลาด, ความชำนาญ, ความสันทัด
  50. จาปก : (ปุ.) นายขมังธนู, พรานธนู.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | [301-350] | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-625

(0.0470 sec)