ญาณทสฺสน : (นปุ.) ความรู้และความเห็น, ความเห็นด้วยญาณ, ความเห็นด้วยปัญญา, ญาณทัสสนะ. คำว่า ญาณทัสสนะ เป็นไป ในอรรถ ๖ อย่างคือ ผลมีโสดาบัตติผลเป็นต้น วิปัสสนามีอนิจจานุปัสสนาเป็นต้น ทิพพจักขุ ตาทิพย์ สัพพัญญุตา ความเป็นผู้รู้ธรรมทั้งปวง ปัจจเวกขณญาณ ญาณเป็นเครื่อง พิจารณา และ มัคคญาณมีโสดาบัตติมรรค เป็นต้น.
ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
ติปุส : (ปุ.) แตงโม, แตงกวา, แตงอุลิด ( แตง กวา). ติปิ ปีณเน, อุโส. ตะกั่ว, ตะกั่วขาว. ติปฺ ปีฬเน.
เตรส เตฬส : (ไตรลิงค์) สิบสาม วิ. ตโย จ ทส จาติ เตรส. ตีหิ วา อธิกาติ เตรส. แปลง ติ เป็น เต ศัพท์หลังแปลง ร เป็น ฬ. รูปฯ ๓๙๖.
ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
ทฺวิป ทฺวิรท : (ปุ.) ช้าง, ช้างพลาย. วิ. กเรน มุเขน จาติ ทฺวีหิ ปิวตีติ ทวิโป. ทฺวิปุพฺโพ, ปา ปาเน, กฺวิ. เทฺวา รทา ยสฺส โส ทฺวิรโท. ส. ทฺวิป, ทฺวิรท, ทฺวิราป.
ทิสาฑาห, - ทาห : ป. ลำพู่กัน, ลำขาวในท้องฟ้า, ทางสีแดงทาบขอบฟ้า
ทุคคสญฺจาร : (ปุ.) การเดินทงไปในที่อัน...ได้โดยยาก วิ. ทุคคสฺส สญฺจาโร.ทุคคสญฺจาโร, หักฉัฎฐีเป็นสัตตมี. ส. ทุรฺคสํจาร ทุรฺคสญฺจาร.
ธญฺญมาส : (ปุ.) ธัญญามาส ชื่อมาตรานับ ๗ อูกาเป็น ๑ ธัญญมาส. ธญฺโญ วีหิ เยว ปริมาณิตพุพตฺตา มาโส จาติ ธญฺญมาโส.
ธมน : (ปุ.) ไม้อ้อ, ไม้เลา (ต้นไม้จำพวกอ้อ ดอกสีขาวมอๆ). ธมฺ สทฺทคสิสํโยเคสุ. ยุ.
ธมฺมจาร : (วิ.) ผู้ประพฤติซึ่งธรรม วิ. ธมฺมํ จรตีติ ธมฺมจาโร. ณ ปัจ.
ธมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งธรรม, ฯลฯ. คำแปล อีก และ วิ. เลียนแบบ ธมฺมจารีง
ธวล : (ปุ.) ขาว, เผือก (สี...). ธุ โสธเน, โล. ส. ธวล.
ธวลตา : อิต. ความเป็นของขาวสะอาด
นกฺขตฺต : (นปุ.) ลาว, ดวงดาว, ดาวฤกษ์, ฤกษฺ (ดาวที่มีลักษณะเป็นกลุ่มแก๊ส ทรงกลมสามารถแผ่รังสีออกได้รอบตัว), นักษัตร (ดาวฤกษ์มี ๒๗ กลุ่ม). วิ.ปุนปฺปุนํ อุทยโต น ขียเตติ นกฺขตฺตํ. นปุพฺโพ, ขี ขเย. โต. แปลง อี เป็น อ แปลง ต เป็น ตฺต ซ้อน กฺ. อตฺตโน คมนฏฐานํ น ขรติ น วินาเสตีติ วา นกฺขตฺตํ ขรฺ ขเย, นกฺขตีติ วา นกฺขตฺตํ. นกฺขฺ คติยํ, โต. เอตโต อิโต จาติ วิสมคติยา อคนฺตฺวา อตฺตโน วีถิยา ว คมเนน นกฺขนํ คมนํ ศายตีติ วา นกฺขตฺตํ. ตา เต วา ปาลเน. ส. นกฺษตฺร.
นปุสก : (ปุ.) บัณเฑาะก์ (กะเทย), กะเทย (คนที่มีอวัยวะเพศทั้งชายและหญิง หรือ คนที่มีจิตใจกิริยาอาการตรงกันข้ามกับเพศของตน). คนมิใช่ชายมิใช่หญิง, คนมิใช่ หญิงมิใช่ชาย. วิ. อิตฺถีภาวปุมภาวรหิโต ปุคฺคโล, โส หิ ปุริโส วย สาติสยํ ปจฺจา- มิตฺเต น ปุเสติ อภิมทฺทนํ กาตํ น สกฺโกตีติ นปุสโก (ข่มขี่ข้าศึกไม่ได้). นปุพฺโพ. ปุสฺอภิมทฺทเน, ณฺวุ, นิคฺคหิตาคโม, เกจิ ปน น ปุมา น อิตฺถีติ นปุสโกติ ลจนตฺถํ วทนฺติ.
นิคฺคหิต นิคฺคหีต : (นปุ.) นิคหิต ชื่อ พยัญชนะตัวที่ ๓๓ เป็นรูป “ ํ ” ซึ่งต้อง อาศัยสระ อ อิ อุ ออกเสียงเป็น อัง อิง อุง. วิ. รสฺสรํ นิสสาย คยฺหติ อุจฺจารียตีติ นิคฺคหิตํ กรณํ นิคฺคหิตฺวา อวิวเฏน มุเขน คยฺหติ อุจฺจารียตีติ วา นิคฺคหิตํ.
นิปฐ นิปาฐ : (ปุ.) การอ่าน, การฉลาดสอน, ความฉลาดสอน, การอธิบาย, การชี้แจง นิปุพฺโพ, ปฐ วิยตฺติวาจาวิขฺยาเนสุ, อ, โณ.
ปฏิกา : อิต. ผ้าขาวลาด, เนื้ออ่อน
ปฏิย : นป. ผ้าลาดสีขาวทำด้วยขนสัตว์
ปณฺฑร : ค., ป. ขาว, ขาวเหลือง, ซีด; ช้างสกุลหนึ่งเป็นช้างเผือก
ปณฺฑุ : ค. เหลืองอ่อน, ขาวเหลือง
ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
ปรทาริกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของคนผู้ถึงซึ่ง ภรรยาของคนอื่น วิ. ปรทาริโก จ โส ปุคฺคโล จาติ ปรทาริกปุคฺคโล. ปรทาริก ปุคฺคลสฺส กมฺมํ ปรทาริกกมฺมํ.
ปวตฺติ : อิต. ความเป็นไป, เรื่องราว, ข่าว
ปากหส : ป. หงส์ขาว
ปาภติกถา : อิต. เรื่อง, ข่าว
ปุณฺฑรีก : นป. ดอกบัวขาว; เสือลาย, ชื่อช้างประจำทิศอาคเนย์; มะม่วงอย่างเล็กมีรสหวาน
ปุพฺพวิเทห : (ปุ.) บุพวิเทหะ ชื่อทวีปใหญ่ ๑ ใน ๔ ทวีป วิ. เวเทน ปญฺญาย อีหนฺติ เอตฺถาติ เวเทโห. โส เอว วิเทโห. อิมํ ทีปมุปาทาย สิเนรุโต ปุพฺพาทิสาภาคตฺตา ปุพฺโพ จ โส วิเทโห จาติ ปุพฺพวิเทโห.
ปุสฺส : (วิ.) ขาว, สะอาด, รุ่งเรือง, เจริญ. ปุสฺ วุฑฒิยํ, อ.
โปฏคล : (ปุ.) ต้นเป้ง, หญ้าเลา หญ้าดอกเลา (ต้นไม้พวกอ้อดอกสีขาวมอๆ), หญ้าปล้อง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งต้นเป็นข้อๆ ในข้อมีไส้เป็นปุยขาว ชอบขึ้นในน้ำ, ต้นอ้อ, ไม้อ้อ, ต้นเป้ง. วิ. ปุฏ มญฺญมญฺญสํสคฺคํ คจฺฉตีติ โปฏคโล. ปุฏปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ, อุสฺโส, มสฺส โล.
ผลิก : (ปุ.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
ผลิกา : (อิต.) แก้วผลึก ชื่อแก้วหินอย่างหนึ่งมีสีขาวใส.
ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
พนฺธุกี : อิต. กล้วยไม้ชนิดหนึ่งมีดอกสีขาว
พฺรหตี : (อิต.) มะแว้ง, มะเขือขาว. พฺรหฺ วุทฺธิยํ, โต, อิตฺถิยํ อี.
พลกฺข : ป. สีขาว
ภงฺค : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ภังคะ, ภางค์. วิ. สยเมว ภิชฺชตีติ ภงฺโค. ภญฺชฺ อวมทฺทเน, อ. แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ. จันทร์กะพ้อ ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง ดอกขาวคล้ายดอกพะยอมหอมคล้ายดอกจันทน์?.
ภทฺทมุตฺต : (นปุ.) กะเม็ง ชื่อหญ้าต้นเตี้ยๆ ไม่มีแก่น ลำต้นสีม่วง ใบเขียวมีขนคายดอกขาว ชอบขึ้นในที่ชื้นแฉะ ใช้ทำยา, หญ้าปากกา. มุจฺ โมจเน, โต. โรคหรณตฺตา ภทฺทญฺจ ตํ มุตฺตญฺเจติ ภทฺทมุตฺตํ.
โภคินี : (อิต.) หญิงผู้มีทรัพย์, ฯลฯ, อันเตปุริกนารี (หญิงอื่นจากมเหษี).
มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
มริยาท : (ปุ.) อาจาระ, มรรยาท, มารยาท (กิริยาที่ถือว่าเรียบร้อย). กฏ. วิ. ปริจฺฉินฺทิตฺวา อาทียเตติ มริยาทา. ปริ อาปุพฺโพ, ทา อาทาเน, อ. แปลง ป เป็น ม ยฺ อาคม. ศัพท์หลัง อา อิต. เป็น มาริยาทา ก็มี. ส. มรฺยาท.
มหานิสา : (อิต.) เวลาเที่ยงคืน, เที่ยงคืน. วิ. มหตี จ สา นิสา จาติ มหานิสา.
มหินฺท : (ปุ.) มหินทะ ชื่อของพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. มหตํ เทวานํ อินฺโท ราชาติ มหินฺโท. มหนฺโต จ โส อินฺโท จาติ วา มหินฺโท.
มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.