Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ข้าวเจ้า, เจ้า, ข้าว , then ข้าพเจ้า, ขาว, ข้าว, ข้าวเจ้า, จา, เจ้, เจ้า .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ข้าวเจ้า, 625 found, display 551-600
  1. มิจฺฉาจาร : (ปุ.) ความประพฤติผิด. วิ. มิจฺฉาจรณํ มิจฺฉาจาโร. มิจฺฉา วา จาโร มิจฺฉาจาโร.
  2. มุทฺทิกา : (อิต.) แหวนตรา, หัวแหวนมีอักษร, จันทน์, จันทน์ขาว, องุ่น, กล้วยตีบ.
  3. เม : ส. แก่ข้าพเจ้า
  4. เมถุน : (นปุ.) ความประพฤติของคนคู่ คือ หญิงและชายผู้มีความพอใจเสมอกัน, อัชฌาจารของคนคู่กัน, ความยินดีของคนคู่กัน, การร่วมสังวาส. วิ. มิถุนานํ อิตฺถีปุริสานํ สมานฉนฺทานํ อาจาโร เมถุนํ. ณ ปัจ.
  5. สงฺการโคฬ : นป. ผ้าขี้ริ้วจากกองหยากเยื่อ
  6. สงฺขกุฏฺฐี : ป. โรคสะเก็ดขาว, โรคเรื้อน
  7. สมณปุณฺฑรึก : (ปุ.) สมณะเพียงดอกบัยวขาว.
  8. สาสน : (นปุ.) คำสั่ง คำบังคับ (อาณา), พระพุทธพจน์(อาคม), การสั่งสอน คำสั่งสอน(อนุสาสน), จดหมาย (เลข), ข่าว ข่าวคราว, สาสน์ คือพระราชหัตถเลขาทางราชการหรือลิขิตของพระสังฆราช, ศาสนา สาสนา (คำสั่งสอนของพระศาสดา). วิ. สาสิยเตติ สาสนํ. สาสฺ อนุสิฎฐยํฐ ยุ. ธรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งการสั่งสอน (อบรม) สัตวโลก (มนุษย์) พร้อมทั้งเทวดาและพรหม วิ. สเทวกํ โลกํ สาสติ เอตฺถาติ สาสนํ. คำสั่งสอนอันเบียดเบียนกิเลส, คำสั่งสอนอันกำจัดกิเลส. วิ. กิเลเส สาลตีติ สาสนํ สสุ หึสายํ, ยุ. ทีฆะตันธาตุ. ส. ศาสน.
  9. สิต : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด. สิตฺ สิตวณฺเณ, อ. ส. สิต.
  10. สิตามฺพุช : (ปุ. นปุ.) บัวขาว, ดอกบัวขาว.
  11. สีลวติ : (อิต.) ชี ชื่อของหญิงนักบวชโกนผม โกนคิ้วนุ่งห่มผ้าขาว ถือศีล ๘ เป็นนิจศีล.
  12. สุกฺก : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด, สว่าง, สุกใส, ดี, ผ่อง, บริสุทธิ์.
  13. สุกฺกกาก : (ปุ.) นกยาง, กาขาว, กาเผือก.
  14. สุกฺกเมห : (ปุ.) โรคเบาขาว, ป้าง, นิ่ว.
  15. สุกฺกส : (ปุ.) ส่วนแห่งธรรมอันขาว.
  16. สุกฺก สุกฺกปกฺข : (ปุ.) ฝ่ายขาว, ปักข์ขาว, ข้างขึ้น, สุกกปักข์, ศุกลปักษ์.
  17. สุจิ : (วิ.) ขาว, เผือก, เผือกผ่อง, ผ่องใส, สะอาด, หมดจด, บริสุทธิ์. สุจฺ โสจเน. ปกาสเน วา, อิ. ส. ศุจิ.
  18. สุธาปิณฺฑ : (ปุ.) ก้อนแห่งปูนขาว, ก้อนปูนขาว.
  19. สุริยตฺถงฺคมนกาล : (ปุ.) กาลอันถึงซึ่งอันตั้งอยู่ไม่ได้แห่งพระอาทิตย์, กาลเป็นที่อัสดงคนแห่งพระอาทิตย์. วิ สุริโย อตฺถํ คจฺฉติ เอตฺถาติ สุริยตฺถงฺคมโน (กาโล). ยุ ปัจ. นามกิตก์. สุริยตฺถงฺ คมโน จ โส กาโล จาติ สุริยตฺถงฺคมนกาโส. วิเสสนบุพ. กัม.
  20. สุริยวลฺลิ : (อิต.) นมตำเลีย ชื่อไม้เถาชนิดหนึ่ง ใบหนาอวบน้ำ ที่ลำต้นมียางขาวคล้ายน้ำนม ดอกแข็ง คล้ายขี้ผึ้ง. นมตำเรีย ก็ว่า.
  21. สุสุกฺก : (วิ.) ขาวผ่อง, สว่างดี, สะอาดี, สุกใสดี.
  22. เสต : (นปุ.) ผ้าขาว, ผ้าขาวสะอาด.
  23. เสตฉตฺต เสตจฺฉตฺต : (นปุ.) ฉัตรหุ้มด้วยผ้าขาว, ฉัตรขาว, เศวตฉัตร.
  24. เสตปตฺต : (ปุ.) นกมีปีกสีขาว, นกยาง.
  25. เสตปาริส : (ปุ.) แคฝอย, แคขาว.
  26. เสต เสตก : (วิ.) ขาว, เผือก, สะอาด, เศวต.
  27. เสติจฺฉตฺต : นป. เศวตฉัตร, ฉัตรสีขาว
  28. โสมวกฺก : (ปุ.) พะยอมขาว วิ. เสตวณฺณตาย โสโม, กปฺปูรสทิโส วกฺโก วกฺกล เมตสฺสาติ โสมวกฺโก. กฤษณา ก็แปล.
  29. หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
  30. อกลุ : (นปุ.?) กำยาน, กฤษณา, สารขาว.
  31. อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
  32. อคฺคิชาลา อคฺคิชฺชาลา : (อิต.) เปลวไฟ, ผักปลาบ, สัตตบุษย์ ชื่อบัวชนิดหนี่งคล้ายสัตตบงกช แต่ดอกสีขาว.
  33. อชฺชุนอชฺชุนฺน : (วิ.) ขาวใส.
  34. อชฺชุน อชฺชุนฺน : (ปุ.) ไม้รถฟ้า, ไม้รถฟ้าขาว, ไม้กุ่ม, ไม้อัญชัน.อชฺช อชฺชเน ปูชายํ วาอุโน. ส. อรฺชุน.
  35. อชฺฌาจาร : (ปุ.) ความประพฤติล่วง, ความประพฤติล่วงมารยาท, ความล่วง (หมายเอาเมถุน), อัชฌาจารอัธยาจาร(การละเมิดประเพณีการเสพเมถุนความประพฤติชั่วความประพฤติละเมิดพระวินัย)ฏีกา ฯแก้เป็นมริยาทาติกฺกมการล่วงละเมิดมารยาท.
  36. อฑฺฒรตฺต : (ปุ. นปุ.) เที่ยงคืน, เวลาเที่ยงคืน, ครึ่งคืน, กึ่งราตรี.วิ.รตฺติยาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺโต.อฑฺฒญฺจตํรตฺติจาติวาอฑฺฒรตฺโต.รตฺติยาวาอฑฺฒํอฑฺฒรตฺตํ.วิปริยโย(กลับบทหน้าไว้หลัง).
  37. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  38. อติจฺจ : (อัพ. นิบาต) เกิน, ยิ่ง.อติ+อิจฺจ.อิจฺจมาจากอิ ธาตุ ตฺวา ปัจ.แปลง ตฺวาเป็นรจฺจ.
  39. อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
  40. อทฺธาก : (ปุ.) ต้นรักขาว.
  41. อนฺธตมอนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด.วิ. อนฺธญฺจตํตมญฺจาติอนฺธตมํอนฺธนฺตมํ วา
  42. อนฺธตม อนฺธนฺตม : (ปุ. นปุ.) ความมืดคือบอด, ความมืดบอด, ความมืดทึบ, ความมืดตื้อ, ความมืดมน (มืดแปดด้าน) มืดมิด. วิ. อนฺธญฺจ ตํ ตมญฺจาติ อนฺธตมํ อนฺธนฺตมํ วา
  43. อนมตคฺค : (วิ.) มีที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามอยู่รู้ไม่ได้แล้ว, มีวิ.ตามลำดับ ดังนี้ปเรกเสสทวัน. อคฺโค จ ปุพฺโพ จ อคฺคา.วิเสสนบุพ.กัม.อนุคจฺฉิยมานา จ เตอคฺคาจาติอนุคจฺฉิมานคฺคา.นบุพ.กัม. น มตา อนมตา (อนุคจฺฉิยมานคฺคา)วิเสสน บุพ.กัม.อนมตาจเตอนุคจฺ-ฉิยมานคฺคาจาติอนมตคฺคา.ตทัสสิตัท.อนมตคฺคาอสฺสอตฺถีติอนมตคฺโค (สํสาโร วฎฺฎสํสาโร).มีสำนวนแปลอีกคือมีที่สุดอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว, มีที่สุดอันบุคคลไม่รู้แล้ว, มีที่สุดและเบื้องต้นอันใครๆ ไปตามไม่รู้แล้ว, มี่ที่สุดและเบื้องต้นอันบุคคลไปตามไม่รู้แล้ว.
  44. อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
  45. อนุปุพฺพิกถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งธรรมมีในเบื้องต้น, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยอันเป็นไปตามซึ่งที่อันมีในเบื้องหน้า, สัททชาติเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวโดยลำดับ, วาจาเป็นเครื่องกล่าวแสดงซึ่งธรรมโดยลำดับ, ถ้อยที่แสดงไปตามลำดับ, การกล่าวโดยลำดับวิ.อนุปุพฺเพน กถาอนุปุพฺพิกถา.แปลงอที่สุดศัพท์เป็นอิหรือลงอิอาคมเป็นอนุปุพฺพีกถาโดยแปลง อเป็นอีบ้าง.อนุปุพฺพ เป็นต้นเมื่อเข้ามาสมาสกับศัพท์ที่สำเร็จมาจากกรฺกถฺธาตุจะแปลงอของศัพท์ต้นเป็นอิหรืออีเสมอ.
  46. อปจย : (ปุ.) การเคราพ, การบูชา.อปปุพฺโพ, จายุ ปูชายํ, อ. รัสสะอาเป็นอ.ส. อปจย.
  47. อปจายน : (นปุ.) การแสดงความเคราพ, การนับถือ, การประพฤติถ่อมตน, การอ่อนน้อม, ความประพฤติถ่อมตน, ฯลฯ.อป+จายุธาตุ ยุ ปัจ.ส. อปจายน.
  48. อปจิติ : (อิต.) การยำเกรง, ฯลฯ, ความยำเกรง, ฯลฯ.อปปุพฺโพ, จายุปูชายํ, ติ.แปลงอาเป็นอิ ลบที่สุดธาตุ.ส. อปจิติ.
  49. อปุตฺตกเสฏฐิวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของเศรษฐีผู้ไม่มีบุตรมีวิ.ตามลำดับดังนี้-นปุพ.พหุพ.นตฺถิตสฺสปุตฺตาติอปุตฺตโกกสกัด.วิเสสนบุพ.กัม.อปุตฺตโก จ โสเสฏฺฐีจาติอปุตฺตกเสฏฺฐี.
  50. อรหนฺต : (ปุ.) พระอรหันต์.วิ.สํสารจกฺกสฺสอเรหตวาติอรหาอรหํวา(ผู้ขจัดเสียซึ่งซี่แห่งสังสารจักร).อคฺคทกฺขิเณยฺยภาเวณปูชนํอรหตีติอรหา(ผู้ควรซึ่งการบูชาเพราะความเป็นพระทักขิเณยยบุคคลผู้เลิศ).กิเลสารโยมคฺเคนหนีติ อรหา (ผู้กำจัดข้าศึกคือกิเลสท.ด้วยมรรค).นสนฺติเอตสฺสรหาติอรหา (ผู้ไม่มีปาบธรรม).นตฺถิ เอตสฺสรโหคมนํคตีสุปจฺจาชาตีติอรหํ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | [551-600] | 601-625

(0.0755 sec)