Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ระ , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ระ, 634 found, display 401-450
  1. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  2. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  3. เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
  4. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  5. พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
  6. พิลาล : (ปุ.) แมว วิ. มูสิกาทิปาทเนน พลตีติ พิลาโล. พลฺ ปาณเน, อโร. แปลง ร เป็น ล หรือ ตั้ง พิลฺ เภทเน. ก็ได้.
  7. ภคณฺฑล ภคนฺทล : (นปุ.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
  8. ภคณฺฑลา ภคนฺทลา : (อิต.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
  9. ภาตุ : (วิ.) ผู้เป็นพี่น้องชายกัน, ฯลฯ. วิ. ภาตีติ ภาตา. ภาสฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, ราตุ. ลบ สฺ ลบ รา. ผู้พูดก่อน (พี่ชาย) วิ. ปุพฺเพภาสตีติ ภาตา.
  10. : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
  11. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  12. มญฺชรี : (อิต.) ช่อดอกไม้, ก้านดอกไม้. วิ. มญฺชุโยคโต มญฺชรี. ร ปัจ. แปลง อุ เป็น อ อี อิต.
  13. มธุร : (วิ.) หวาน, อร่อย, ไพเราะ, งาม, มีน้ำผึ้ง, มีน้ำหวาน, มีรสหวาน. วิ. มธุ อสฺส อตฺถีติ มธุโร. มธุ อสฺมึ วิชฺชตีติ วา มธุ-โร. มธุ+ร ปัจ.
  14. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  15. มมฺม : (วิ.) เป็นเหตุตาย, เป็นเครื่องตาย. วิ. มรนฺตฺยเนนาติ มมิมํ. มรฺ ธาตุ ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ หรือ รมฺม ปัจ. ลบ รฺ และ ร.
  16. มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
  17. มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
  18. เมรย : (นปุ.) น้ำดอง, น้ำเมา, เมรัย คือ น้ำดองที่ยังไม่ได้กลั่น. วิ. มทํ ชเนตีติ เมรยํ. ณฺย ปัจ. แปลง อ ที่ ม เป็น เอ ท เป็น ร.
  19. สลิล : (นปุ.) น้ำ วิ. สลตีติ สลิลํ. สลฺ คติยํ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. สลิล.
  20. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  21. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  22. สุจิร : (วิ.) มีความผ่องใส, ฯลฯ. ร ปัจ. ตทัสสัตทิตัท.
  23. เสตฏฺฐิกา : อิต. รา
  24. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  25. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  26. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  27. อคลู : (ปุ.) กฤษณา, กฤษณาสามัญ, ไม้กฤษณา. ลหุนามกตฺตาอครุ. แปลง ร เป็น ล, ฬ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  28. อชคร : (ปุ.) สัตว์ผู้กินแพะ, สัตว์ผู้กินแกะ, สัตว์ผู้กลืนแกะ, ฯลฯ, งูเหลือม.วิ. อชํคิลตีติอชคโล. อชปุพฺโพ, คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ (แปลง อิ เป็น อ), ลสฺสรตฺตญฺจ (และแปลง ล เป็น ร).เป็นอชคล โดยไม่แปลง ล เป็น ร บ้าง. ส.อชคร งูใหญ่.
  29. อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
  30. อารมฺพณอารมฺพน : (นปุ.) การยึดหน่วง, ความยึดหน่วง, อารมณ์.อาปุพฺโพ, ลพิ อวลมฺพเณ, ยุ. แปลงล เป็น ร. ส. อาลมฺพน
  31. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  32. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  33. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  34. อุรุณ : (ปุ.) แกะ, แพะ, อุรณ ศัพท์ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ.
  35. อูสร : (ปุ.) ตำบลมีดินเค็ม. อูส ศัพท์ ร ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. อภิฯ เป็นไตรลิงค์. ส. อูษร. อูสวนฺตุ
  36. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  37. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  38. กจฺฉนฺตร : (นปุ.) ห้องเล็ก, ห้องส่วนตัวของ พระราชา. วิ. กจฺฉสฺส ปโกฏฺฐ สฺส อนฺตรํ กจฺฉนฺตรํ. ราชูนํ สพฺเพสํ อสาธารณฏฺฐานํ กจฺฉนฺตรํ.
  39. กจวร : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว), มูล ฝอย, ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน, อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ, อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน.
  40. กพฺยการก : ป. ดู กพฺพการ
  41. กรปาลิกา : (อิต.) กรปาลิกา ชื่อดาบชนิดหนึ่ง, เขน (เครื่องป้องกันศัตรา). วิ. กรํ ปาลย ตีติ กรปาลิกา. ณฺวุ ปัจ. อิ อาคม อาอิต. ส. กรปาลิกา ว่า คทา กระบี่.
  42. กรภ : (ปุ.) กรภะ ชื่อมือด้านข้างข้อมือและ นิ้วก้อยที่เด็กทำดุจศัตราประหารกันและ กัน, ข้างมือ, สันมือ, อูฐ. กรฺ หึสายํ กรเณ วา, อโภ. ส. กรภ.
  43. กรุณาเวคสมุสฺสาหิตมานาส : (วิ.) ผู้มีฉันทะ มีในใจอันกำลังแห่งกรุณาอันให้อุตสาหะ พร้อมแล้ว. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ส ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ฉ. ตัป. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
  44. กลวิก กลวึก กลวิงฺก กลวีก : (ปุ.) นกกระจอก. วิ. กลหํ รวตีติ กลวึโก. กลหปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อิโก. ลบ ลห แปลง อุ เป็น อว รฺ เป็น ลฺ นิคคหิตอาคม. กํ สุขํ ลุนาตีติ วา กลวึโก. กปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อิโก. ศัพท์ต้นไม่ลงนิคคหิตอาคม ศัพท์หลัง ทีฆะ. ส. กลวิงฺก.
  45. กากณิกคฺฆนก : ค. มีราคากากณิกหนึ่ง
  46. กามยิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามยิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ยฺ อาคม.
  47. การเภทก : (ปุ.) นักโทษแหกคุก. การา (เรือน จำ) + เภทก. รัสสะ อา เป็น อ.
  48. การุ : (ปุ.) คนมีศิลปะ, ช่าง, นายช่าง. วิ. กโรติ นิมฺมินาติ จิตฺรเลปฺยาทิก มิติ การุ. กรฺ กรเณ, ณุ. ส. การู.
  49. กาสาย กาสาว : (นปุ.) ผ้าอันบุคคลย้อมแล้ว ด้วยรสฝาด, ผ้าอันบุคคลย้อมแล้วด้วยน้ำ ฝาด, ผ้าย้อมด้วยรสฝาด, ผ้าย้อมด้วยน้ำ ฝาด, ผ้ากาสายะ, ผ้ากาสาวะ, จีวร. วิ. กสาเยน กสาเวน วา รตฺตํ วตฺถํ กาสายํ กาสาวํ วา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. คำจีวรใน ที่นี้ หมายเอาเฉพาะผ้าที่ย้อมด้วยน้ำฝาดใน ความหมายของพระพุทธศาสนา.
  50. กึการ : ป. ดู กึกร
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | [401-450] | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-634

(0.0561 sec)