Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ระ , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ระ, 634 found, display 51-100
  1. ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
  2. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  3. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  4. ธมฺมกมฺม : นป. การกระทำตามธรรม, การปฏิบัติตามกฏ
  5. ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
  6. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  7. นขร : (ปุ.) เล็บมือ, นขระ ชื่อผักหอมชนิด หนึ่ง.
  8. นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
  9. นาถกรณ : นป. การกระทำที่พึ่ง
  10. นิติกมฺม : (นปุ.) การกระทำตามกฎหมาย, นิติกรรม.
  11. นิพฺพานสจฺฉิกิริยา : อิต. การกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
  12. นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
  13. นิมิส : ป. การกระพริบตา, การหลับตา
  14. นิมิสติ : ก. การกระพริบตา, หลับตา, ปิดตา
  15. นิมิส นิมฺมิส นิมฺมิสน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, นิสฺ นิมฺมิสเน, อ.
  16. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  17. นิหีนกมฺม : นป. กรรมทราม, การกระทำที่ต่ำทราม
  18. ปกฺขนฺทน : นป. การแล่นไป, การกระโดดไป
  19. ปฏิจฺฉนฺนกมฺมนฺต : ค. ผู้มีการงานอันปิดบัง, ผู้มีการกระทำอันไม่เปิดเผย, ผู้ทำงานเร้นลับ, ผู้ปกปิดการกระทำ
  20. ปฏิสฺสต : ค. มีสติมั่น, ผู้รอบคอบ, ผู้ระแวดระวัง
  21. ปฏิหนน : นป. การกระทบ, การผลักไส, การกำจัด, การทำลาย
  22. ปตฺตวก : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด.
  23. ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
  24. ปทวิภาค : ป. การแจกบท, การกระจายคำ
  25. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  26. ปโพธน : นป. การปลุก, การกระตุ้นเตือน, การตรัสรู้
  27. ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
  28. ปรการ : ป. การกระทำของผู้อื่น, การสร้างสรรค์โดยผู้อื่น
  29. ปรทาริกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของคนผู้ถึงซึ่ง ภรรยาของคนอื่น วิ. ปรทาริโก จ โส ปุคฺคโล จาติ ปรทาริกปุคฺคโล. ปรทาริก ปุคฺคลสฺส กมฺมํ ปรทาริกกมฺมํ.
  30. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  31. ปริกนฺต : ๑. กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่าออกแล้ว; ๒. นป. กรรมที่กระทำด้วยกาย; การกระเสือกกระสนด้วยกาย
  32. ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  33. ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  34. ปฺลวน : นป. การกระโดด, การลอย
  35. ปาตุกรณ : นป. การกระทำให้ปรากฏ, การทำให้เกิดขึ้น
  36. ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
  37. ปาปกมฺม : นป. กรรมชั่ว, การกระทำที่ชั่วช้า
  38. ปาปกมฺมนฺต, ปาปกมฺมี, ปาปกร, ปาปการี : ค. มีกรรมชั่ว, มีการกระทำอันเลวทราม
  39. ปารมฺปริย : นป. คำสอนหรือการกระทำที่สืบต่อกันมาตามลำดับๆ
  40. ปาวุส : ป. ฝน, ฤดูฝน; ปลากระบอก
  41. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  42. ปุญฺญาภิสงฺขาร : ป. การสั่งสมบุญ, การกระทำบุญ
  43. ปุพฺพกรณ : (นปุ.) การกระทำก่อน, บุพพกรณ์ บุพกรณ์ คือ กิจที่จะต้องทำก่อนบุพกิจ.
  44. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  45. ปุริสฆาตกกมฺม : (นปุ.) การกระ ทำของบุรุษ ผู้ฆ่าซึ่งบุรุษ.
  46. ปูติก : (ปุ.) กระพังโหม, อเนกคุณ, บอระเพ็ด? ปุ ปวเน, อิโก, โตนฺโต จ (ลง ต ที่สุดธาตุ).
  47. ปูติลตา : (อิต.) เถาเน่า, เครือเถาเน่า, เถาหัวด้วน, ต้นตำแย, บอระเพ็ด, กระพังโหม. วิ. ติตฺตรสตฺตา ปูติภูตา ลตา ปูติลตา. ปุ ปวเน, ติ.
  48. ผคฺคว : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด. วิ. ยํ วาตํ คณฺหาตีติ ผคฺคโว. ผปุพฺโพ, คหฺ คหเน, อ, หสสฺ โว.
  49. ผรณตา : อิต. การแผ่ไป, การซ่านไป, การกระจายไป, การเสียวซ่าน
  50. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  51. 1-50 | [51-100] | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-634

(0.0660 sec)