Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รา, 634 found, display 201-250
  1. มาธุร : (วิ.) ผู้เกิดในเมืองมธุรา, ผู้อยู่ในเมืองมธุรา. ณ ปัจ. รูปฯ ๓๖๒.
  2. มามก : (วิ.) เป็นของเรา วิ. มม ภาโวติ มามโก. ณ ปัจ. ราคมทิตัท. ก สกัด หรือ ณก ปัจ.
  3. มาหิส : (วิ.) นี้ของกระบือ วิ. มหิสสฺส อิทํ มาหิสํ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  4. มุรช : (ปุ.) ตะโพน วิ. มุรา อฺสุรา ชาโต มุรโช.
  5. โลณผล : นป., โลณสกฺขรา อิต. ก้อนเกลือ
  6. สยวรา : (อิต.) หญิงเลือกผัว วิ. สยํ เมว ปตึ วรตีติ สยํวรา. วรฺ ปตฺถนายํ, อ.
  7. สรภู : (อิต.) สรภู ชื่อแม่น้ำสายใหญ่สายที่ ๔ ใน ๕ สาย, แม่น้ำสรภู. วิ. สรานิ ภวนฺติ ยาย อธิภูตายาติ สรภู. สรตีติ วา สรภู. สรฺ คติยํ, อภู.
  8. รา : (ปุ.) ชาม, ฝาหม้อ, ฝาละมี. วิ. สรติ วุทฺธึ คจฺฉตีติ สราโว. สรฺ คติยํ, อโว.
  9. สหสฺสรสิ : (ปุ.) ตะวัน, ดวงตะวัน, ดวงอาทิตย์. วิ. สหฺสฺสสํ พหโว รํสโย ยสฺส โส สหสฺสรํสิ. ส. สหสฺรา ศุ.
  10. สีวถิกา สีวฎฺฐกา : (อิต.) ป่าช้าผีดิบ วิ. ฉวา ธียนฺเต อตฺราติ สีวถิกา. ฉวปุพฺโพ, ธา ธารเณ, ณฺวุ, ฉสฺส โส, อสฺสี, ธสฺส โถ, อสฺสิ, อิตฺถิยํ อา. ศัพท์หลัง แปลง ถิ เป็น ฐ ซ้อน ฎ.
  11. สีหาสน : (นปุ.) ราชอาสน์ทอง วิ. สีหากติปฺปธานํ อาสนํ สีหาสนํ, ราชูนํ สุวณฺณขฺจิตํ อาสนํ.
  12. สุรเสน : (ปุ.) สุรเสนะ ชื่อแคว้นอยู่ระหว่างแม่น้ำสินธุกับยมุนา มีราชธานีชื่อ มถุรา.
  13. เสล : (ปุ.) ภูเขา วิ. สิลา ปจุรา สนฺตฺยสฺมินฺติ เสโล. ณ ปัจ.
  14. โสคต : (วิ.) มีพระสุคตเป็นเทวดา วิ. สุคโต อสฺส เทวตาติ โสคโต. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  15. โสวณฺณ โสวณฺณมย : (วิ.) อัน...ทำแล้วด้วยทอง, อันเป็นวิการแห่งทอง, เป็นวิการแห่งทอง, สำเร็จแล้วด้วยทอง, ศัพท์ต้น สุวณฺณ ลง ณ ปัจ. ราคาทิตัท. ศัพท์หลังลง มย ปัจ. ปกติตัท.
  16. โสวีร : (นปุ.) น้ำส้ม. วิ. สุวีรรฎฺเฐ ภวํ โสวีรํ, ณ ปัจ, ราคาทิตัท.
  17. หาลิทฺท : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยขมิ้น, ย้อมด้วยขมิ้น. วิ. หฺลิทฺทาย รตฺตํ หาลิทฺทํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. มีสีเหลือง วิ. หลิทฺโท. อสฺส อตฺถีติ หาลิทฺทํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  18. หาว : (ปุ.) การเยื้องกราย (การเดินอย่างมีท่างาม) เป็นกิริยาเสน่หาต่าง ๆ ของหญิง. วิ. หูยนฺเต ราคิโน อตฺราติ หาโว. หุ หวเน, โณ.
  19. เหติ : (อิต.) ศัตรา, อาวุธ, ศัตราวุธ, เครื่องรบ, ขอ, หอก, หลาว. วิ. หรติ ชีวิตนฺติ เหตุ. หรฺ หรเณ, ติ, อสฺเส, รฺโลโป.
  20. โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  21. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  22. องฺคท : (นปุ.) ทองต้นแขน, กำไลต้นแขน, เครื่องประดับแขน. วิ, องฺคํ ทายติ โสเธตีติ องฺคทํ องฺคปุพฺโพ, ทา โสธเน, อ. องฺคฺคมเน วา, โท. ส. องฺคท องคท ชื่อบุตรของพาลีในเรื่องรามายณะ.
  23. อจฺฉริกา : (อิต.) การดีดนิ้วมือ. อจฺฉรา+อิกปัจ.อาอิต.
  24. อญฺญา : (อิต.) พระอรหันตผลอันบุคคลพึงรู้ทั่วถึง, พระอรหันตผล.วิ.ปฐมมคฺคาทีหิทิฎฺฐิมริยาทมนติกฺกมิตฺวาชานิตพฺพาติอญฺญา.รูปราคาทีนํวาปญฺจนฺนํอุทฺธมฺภาคิยสํโยชนานโมธิวเสนมารณโตอญฺญา. อาปุพฺโพ, ญา อวโพธเน, อ, รสฺโส, ญฺ สํโยโค.
  25. อธิรา : (ปุ.) พระราชาผู้ยิ่ง, พระราชาผู้ยิ่งใหญ่พระอธิราช. ส. อธิาช. อธิราชนฺ.
  26. อนจฺฉ : (วิ.) ไม่ใส, ขุ่นมัว.วิ.นตฺถิอจฺฉภาโวอตฺราติอนจฺโฉ.
  27. อนุรา : (นปุ.) อนุราธนครชื่อนครหลวงของประเทศศรีลังกาโบราณ.
  28. อพพ : (นปุ.) อพพะชื่อมาตรานับเท่ากับแสนคูณด้วยร้อย.อวฺรกฺขเณ, โว, พการาเทโส, พฺสํโยโค.สตฺตสตฺตติพินฺทุสหิตาเอกา เลขาอพพํ.
  29. อสตฺถ : ค. ไม่มีสัตรา, ไม่ใช่ผู้นำหมู่
  30. อสฺสม : (ปุ.) ประเทศเป็นที่มารำงับความโกรธ.วิ. อา โกธํสเมนฺติเอตฺถาติอสฺสโม.ประเทศเป็นที่ยังราคาทิกิเลสให้ระงับวิ.อาภุโสสเมนฺติ ราคาทโย เอตฺถาติ อสฺสโม.อาปุพฺโพ, สมุ อุปสเม, อ, อาสฺสรสฺโส, สสฺสทฺวิตฺตํ.อาศรม (ที่อยู่ของฤาษี ที่อยู่ของนักพรต) วิ. มุนีนํอิสีนํวสนฏฺฐานํอสฺสโมนาม. บุคคลผู้ประพฤติพรหมจรรย์พรหมจารีบุคคล.ส.อาศฺรม.
  31. อสิเลสา : (อิต.) อสิเสลาชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๙ใน๒๗ กลุ่มมีห้าดวง, ดาวเรือน.วิ.ภุชคสทิสตฺตา น สิลิสฺสเต น อาลิงฺคยํเตติอสิเลสา.ปญฺจตาราจกฺกาการาอสิเลสา.
  32. อาตงฺค : (นปุ.) ความกลัว, ความหวาด, ความสะดุ้ง.อาปุพฺโพ, ตสฺอุตฺราเส, อ.แปลง สเป็นคนิคคหิตอาคม.
  33. อาโยธน : (นปุ.) ที่เป็นที่มารบ, การรบกัน, สนามรบ, สงคราม. วิ. อาทายยุชฺฌนฺเตตฺรา-ติอาโยธานํ.อาปุพฺโพ, ยุธฺสมฺปหาเร, ยุ.ส.อาโยธน.
  34. อาราธน : (นปุ.) การยัง....ให้ยินดี, การยัง....ให้โปรดปาน, การเชื้อเชิญ, การยินดี, การนิ-มนต์, การอ้อนวอน, การให้สำเร็จ, การบรรลุ, การถึง, การอาราธนา (การขอ).อาปุพฺโพ, ราธฺสํสิทฺธิยํ, ยุ.ไทยใช้อารา-ธนาเป็นกิริยาในความว่าขออ้อนวอนเชื้อเชิญส.อาราธน.
  35. อารา : (ปุ.) อารมณ์เป็นที่มายินดี, ประเทศเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่มายินดี, สวนเป็นที่รื่นรมย์, อุทยาน, สวน, อาราม, วัด.วิ. อาค-นฺตฺวารมนฺติเอตฺถาติอาราโม.อาปุพฺโพ, รมุรมเณ, โณ.ส.อาราม.
  36. อาริสอาริสฺส : (วิ.) นี้ของฤาษี. ณ ปัจ. ราคาทิตัทแปลงอิเป็นอาศัพท์หลังซ้อนสฺ.
  37. อาสภ : (วิ.) นี้ของมนุษย์ผู้ประเสริฐ, นี้ของโค อุสภะ. วิ. อุสภสฺส อิทํ อาสภํ. อุสภสฺส อยํ อาสโภ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง อุ เป็น อา.
  38. อาฬาริก : (ปุ.) ช่างทำขนม, คนครัว, พ่อครัว. วิ. อฬาโร นาม สูปาทิวิกติ, ตํ กโรตีติ อาฬาริโก. อิก ปัจ. ส. อาราลิก.
  39. อิตฺถาคาร : (ปุ. นปุ.) เรือนคือหญิง, เรือนของ หญิง, พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, ห้องพระมเหสี. วิ. ราชิตฺถีน มคารํ อิตฺถาคารํ. โดยอุปจารโวหาร หมายเอา นางสนม กำนัล ก็ได้.
  40. อินฺทาวุธ : (นปุ.) อาวุธพระอินทร์, รุ้ง, รุ้งกิน น้ำ, สายรุ้ง. ส. อินฺทฺรายุธฺ.
  41. อิราวต : (ปุ.) แหล่งของน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, ทะเล, เมฆ. อิราปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, อ, สสฺส โต.
  42. อุสฺสว : (ปุ.) มหรสพเป็นที่คายเสียซึ่งความเร่าร้อน. วิ. อุสํ วมนฺติ อุคฺคิรนฺติ อตฺราติ อุสฺสโว. อุสปุพฺโพ, วมุ อุคฺคิรเณ, กฺวิ. มหรสพเป็นที่ฟังไกล วิ. นานาสมิทฺธีหิ สวนฺติ เอตฺถาติ อุสฺสโว. อุปุพฺโพ, สุ สวเน, โณ.
  43. อูส : (ปุ.) เกลือ, ที่มีเกลือ, ดินเค็ม, ที่ดินเค็ม, นาเกลือ, เวลาเช้า. อูสฺ ราชายํ, อ.
  44. เอราวณ : (ปุ.) เอราวัณ ไอราวัณ ชื่อช้าง ประจำทิศบูรพา ชื่อช้างสามเศียรซึ่งเป็น ราชพาหนะของพระอินทร์ วิ. อิราวเณ ชาโต เอราวโณ (เกิดในสมุทรชื่อ อิราวัณ). ณ ปัจราคาทิตัท. ส. ไอราวณ. ไอราวต.
  45. เอราวต : (ปุ.) มะแว้ง, มะสัง (ผลมีรสเปรี้ยว), หมากหนาม, ส้ม. วิ. อิราตีนทิยา ตีเร ชาโตติ เอราวโต.
  46. โอทก : (ปุ.) ข้าว วิ. อุทเก ภโว โอทโก. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
  47. โอทนฺต : (วิ.) มีโอเป็นที่สุด วิ. โอ อนฺโต เยสํ เต โอทนฺตา (อกฺขรา). โอ+อนฺต ทฺ อาคม.
  48. โอปวยฺห : (ปุ.) ช้ายพระที่นั้ง วิ. ราชานํ อุปคนฺตวา วหิตุ อรหตีติ โอปวยฺห ณฺย ปัจ.
  49. โอรส : (ปุ.) ลูก, ลูกชาย. วิ. อุรสา มนสา นิมฺมิโต โอรโส. อุรสิ ภโว ชาโต วา โอรโส. สญฺชาโตสยํ ชินโต สุโต โอรโส นาม. อุรศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. สฺ อาคม. ส. เอารส อุรสฺย.
  50. โอโรธ : (ปุ.) พระราชวังชั้นใน, ที่อยู่สำหรับ ฝ่ายใน, หมู่แห่งนางพระสนมของพระราชา, ห้องพระสนม, ห้องพระมเหสี. วิ. ยถา กามาวจริตํ  อปฺปทาเนน อวรุนฺธียติ ราชิตฺถิโย อเนนาติ โอ โรโธ. อวปุพฺโพ, รุธิ อาวรเณ, โณ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | [201-250] | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-634

(0.0659 sec)