Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รา, 634 found, display 351-400
  1. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  2. ทฺวาทส ทฺวารส พารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่ง ด้วยสอง, สิบสอง. วิ ทฺวีหิ อธิกา ทสาติ ทฺวาทส. เทฺว จ ทส จาติ วา ทฺวาทส. แปลง อิ ที่ ทฺวิ เป็น อา แปลง ท เป้น ร เป็น ทฺ วารส แปลง ทฺวิ เป็น พา เป็น พารส ส. ทฺวาทศ.
  3. ธมณฺณ : (ปุ.) คนผู้ยืม, ลูกหนี้. อิณ+ธร ลบ ร แปลง อิ เป็น อ กลับบท มฺ อาคม ซ้อน ณฺ หรือแปลง ร เป็น ม ไม่ต้องลง มฺ อาคม.
  4. โธน : (วิ.) ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา, ผู้ฉลาด, โธรฺ คติเฉกภาเว, อ. แปลง ร เป็น ณ แปลง ณ เป็น น.
  5. นรก : (ปุ.) โลกอันหาความเจริญมิได้, โลกที่ ไม่มีความเจริญ. น บทหน้า ราช ธาตุใน ความเจริญ อ ปัจ. รัสสะ ปลง ช เป็น ก. เหว, นรก ชื่อสถานที่เป็นที่ลงโทษแก่ บุคคลผู้ที่ทำบาปเมื่อละร่างนี้ไปแล้ว ชื่อ สถานที่ที่คนชั่วไปเสวยกรรม. วิ อปุญฺเญ เนตีติ นรโก. นิ นี วา นเย, ณวุ. แปลง อิ หรือ อี เป็น อ และลง ร ที่สุดธาตุ หรือ ลง ร อาคม หรือตั้ง นร นเย, ณวุ. ส. นรก.
  6. นารา : (ปุ.) เครื่องสังหารหมู่มนุษย์, ลูกศร. นาร+อา+จกฺ+ร ปัจ. ส. นารจ.
  7. นิรย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ประเทศมีความเจริญไปปราศแล้ว, ประเทศไม่มีความเจริญ, ประเทศปราศ จากความเจริญ, ภพไม่มีความเจริญ, ภพไม่มีความสุข, โลกไม่มีความเจริญ, โลกไม่มีความสุข. วิ. อโย อิฏฐผลํ, โส นิคฺคโต อสฺมสติ นิรโย. ร. อาคม. นินฺทิโต รโย คมน เมตฺถาติ วา นิรโย. อภิฯ. นิคฺคโต อโย อสฺมสติ นิรโย. นิคฺคโต อโย ยสฺมาโส นิรโย. นตฺถิ อโย เอตฺถาติ วา นิรโย. รูปฯ ส. นิรย.
  8. ปยฺยก : (ปุ.) ปู่ทวด, ตาทวด, ปู่ชวด, ตาชวด. วิ. ปิตุโน อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ ตุ แปลง อิ เป็น อ. หรือ อยฺยกโต ปโร ปยฺยโก. ลบ ร แล้วแปร ป ไว้หน้า อภิฯ และ รูปฯ๓๓๖. หรือ ปคโต อยฺยโก ปยฺยโก. ลบ คต.
  9. รา : (ปุ.) ละอองเกิดแต่ดอกไม้, ละออง ดอกไม้, เกสรดอกไม้. วิ. ปุปฺผโช รโช ปุปฺผธุลิ ปราโค. ลบ ปฺผช แปลง อุ เป็น อ ทีฆะ อ ที่ ร แปลง ช เป็น ค. ฝุ่น, ละออง, ผงหอม, จันทน์หอม.
  10. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  11. ปุโรหิต : (ปุ.) พราหมณ์ผู้มีประโยชน์เกื้อกูลแก่บุรี, อำมาตย์ผู้บำเพ็ญประโยชน์แก่บุรี, ปุโรหิต ประโรหิต ผู้เป็นที่ปรึกษาในทางนิติ คือ กฎหมาย ขนบธรรมเนียม จารีต ประเพณี ผู้ดำรงตำแหน่งพระอาจารย์. ปุร+หิต แปลง อ ที่ ร เป็น โอ.
  12. เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
  13. พริห : (นปุ.) หาง เช่น หางนกยูง. วรหฺ ปาธานิเย, อ. แปลง ว เป็น พ และ อ ที่ ร เป็น อิ.
  14. พารส : (ไตรลิงค์) สิบสอง. ทวิ+ทส แปลง ทฺวิ เป็น พา ท เป็น ร. รูปฯ ๓๙๖.
  15. พิลาล : (ปุ.) แมว วิ. มูสิกาทิปาทเนน พลตีติ พิลาโล. พลฺ ปาณเน, อโร. แปลง ร เป็น ล หรือ ตั้ง พิลฺ เภทเน. ก็ได้.
  16. ภคณฺฑล ภคนฺทล : (นปุ.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
  17. ภคณฺฑลา ภคนฺทลา : (อิต.) ริดสีดวง, บานทะโรค. ภคณฺฑ ภคนฺทฺ ธาตุ อล ปัจ. อภิฯ เป็น ภคนฺทฬา และ แปลง ล เป็น ร เป็น ภคนฺทร บ้าง.
  18. : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
  19. มงฺค : (ปุ.) สภาพผู้ทั้งฆ่าทั้งยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม+ค ลง นิคคหิตอาคม แปลงเป็น งฺ วิ. โม จ โส โค จาติ มงฺโค. ภาวะยังสัตว์ให้ถึงอบาย. ม (อปาย)+คมฺ+ร ปัจ.
  20. มญฺชรี : (อิต.) ช่อดอกไม้, ก้านดอกไม้. วิ. มญฺชุโยคโต มญฺชรี. ร ปัจ. แปลง อุ เป็น อ อี อิต.
  21. มธุร : (วิ.) หวาน, อร่อย, ไพเราะ, งาม, มีน้ำผึ้ง, มีน้ำหวาน, มีรสหวาน. วิ. มธุ อสฺส อตฺถีติ มธุโร. มธุ อสฺมึ วิชฺชตีติ วา มธุ-โร. มธุ+ร ปัจ.
  22. มธุลฏฺฐ  มธุลฏฺฐกา : (อิต.) เถาแห่งชะเอม, ชะเอมเครือ. วิ. มธุรสภาเว ติฏฺ-ฐตีติ มธุลฏฺฐ มธุลฏฺฐกา. มธุรสภาว+ฐา ธาตุ อิ ปัจ. ลบ สภาว แปลง ร เป็น ล ซ้อน ฏฺ ศัพท์หลัง ก สกัด อา อิต.
  23. มมฺม : (วิ.) เป็นเหตุตาย, เป็นเครื่องตาย. วิ. มรนฺตฺยเนนาติ มมิมํ. มรฺ ธาตุ ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ หรือ รมฺม ปัจ. ลบ รฺ และ ร.
  24. มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
  25. มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
  26. เมรย : (นปุ.) น้ำดอง, น้ำเมา, เมรัย คือ น้ำดองที่ยังไม่ได้กลั่น. วิ. มทํ ชเนตีติ เมรยํ. ณฺย ปัจ. แปลง อ ที่ ม เป็น เอ ท เป็น ร.
  27. สลิล : (นปุ.) น้ำ วิ. สลตีติ สลิลํ. สลฺ คติยํ, อิโล. รูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. สลิล.
  28. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  29. สิริสป สิรึสป : (ปุ.) สัตว์ผู้เสือกไปด้วยศรีษะ, สัตวเสือกคลาน, สัตว์เลื้อยคลาน. สิรปุพฺโพ, สปฺปฺ คคิยํ, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อิ ลบ ปฺ สังโยค ศัพท์หลัง ลงนิคคหิตอาคม.
  30. สุจิร : (วิ.) มีความผ่องใส, ฯลฯ. ร ปัจ. ตทัสสัตทิตัท.
  31. โสรสโสฬส : (ไตรลิงค์) สิบหก. แจกรูปเหมือนปญฺจ วิ. จ ทส จ โสรส โสฬส วา. ฉหิ อธิกา ทสาติ โสรส โสฬส วา. ฉ+ทส แปลง ฉ เป็น โส ท เป็น ร หรือ ฬ. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๑๐๑, ๑๐๔. ส. โษฑศนฺ
  32. หรึตกี : (อิต.) สมอ, สมอไทย. วิ. โรคภยํ หรตีติ หรีตกี. หรฺ อปนยเน, อโต. แปลง อ ที่ ร เ ป็น อี ก สกัด อี อิต. แปลง ต เ ป็น ฎ เป็น หรีฎกี ก็มี แปลง อ เป็น อิ และซ้อน ตฺ เป็น หริตฺตกี ก็มี.
  33. อกิจฺฉ : (วิ.) ง่าย, ไม่ลำบาก, ไม่ฝืดเคือง, สบาย, สุข. นปุพฺโพ, กิรฺ วิกฺขิปเน, โฉ. ลบ ร. ซ้อนจ. หรือ แปลง รฺ เป็น จฺ.
  34. อคลู : (ปุ.) กฤษณา, กฤษณาสามัญ, ไม้กฤษณา. ลหุนามกตฺตาอครุ. แปลง ร เป็น ล, ฬ. ศัพท์หลังทีฆะ.
  35. อชคร : (ปุ.) สัตว์ผู้กินแพะ, สัตว์ผู้กินแกะ, สัตว์ผู้กลืนแกะ, ฯลฯ, งูเหลือม.วิ. อชํคิลตีติอชคโล. อชปุพฺโพ, คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ (แปลง อิ เป็น อ), ลสฺสรตฺตญฺจ (และแปลง ล เป็น ร).เป็นอชคล โดยไม่แปลง ล เป็น ร บ้าง. ส.อชคร งูใหญ่.
  36. อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
  37. อารมฺพณอารมฺพน : (นปุ.) การยึดหน่วง, ความยึดหน่วง, อารมณ์.อาปุพฺโพ, ลพิ อวลมฺพเณ, ยุ. แปลงล เป็น ร. ส. อาลมฺพน
  38. อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
  39. อุปถมฺถ อุปตฺถมฺภ : (วิ.) ค้ำ, ค้ำจุน, อุดหนุน, ช่วยเหลือ, ส่งเสริม, อนุเคราะห์.อุปปุพฺโพ, ถมฺภฺ ปติพนฺธเน, อ. ธรฺ ธารเณ วา, รมฺโภ. แปลง ธ เป็น ถ ลบ รฺ และลบตัวเอง (ร ของ รมฺภ) ศัพท์หลังซ้อน ตฺ.
  40. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  41. อุรุณ : (ปุ.) แกะ, แพะ, อุรณ ศัพท์ แปลง อ ที่ ร เป็น อุ.
  42. อูสร : (ปุ.) ตำบลมีดินเค็ม. อูส ศัพท์ ร ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. อภิฯ เป็นไตรลิงค์. ส. อูษร. อูสวนฺตุ
  43. เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.
  44. เอกาทส เอการส : (ไตรลิงค์) สิบเอ็ด. วิ. เอกญฺจ ทสา จาติ เอกาทสา. อ. ทวัน. สิบยิ่งด้วยหนึ่ง วิ. เอเกน อธิกา ทสาติ เอกาทส. ต.ตัป. ศัพท์หลัง แปลง ท เป็น ร.ส. เอกาทศนุ
  45. กจฺฉพนฺธน : (นปุ.) ายกระเบน, หางกระเบน. โจงกระเบน เป็นชื่อชายผ้าที่ม้วนลอดขา แล้วเหน็บไว้ข้างหลัง การนุ่งผ้าแบบนี้เป็น ผืนผ้าธรรมดา กว้าง ๑ หลา ยาว ๒.๕๐ เมตร สำหรับคนเล็กเตี้ยถ้าเป็นคนสูงใหญ่ กว้าง ๑ x ๓ เมตร เอาผืนผ้าโอบรอบตัว จับชายผ้าให้เสมอกัน แล้วห้อยลง เอาหัว เข่าหนีบไว้มิให้ผ้าเลื่อน มือรีดผ้ามาถึงเอว รวบริมผ้าทำเป็นจุกไขว้กันแล้วเหน็บไว้ที่ สะดือ เรียกว่าพกแล้วจับชายผ้าที่หนีบไว้ ขึ้นมาม้วนขวา ค่อย ๆ ม้วน ม้วนไปรีดไป ให้แน่น พอผืนผ้ากระชัยตัวดีแล้ว ดึงลอด ขา โดยยกขาขวา หรือขาซ้ายขึ้นเล็กน้อย ดึงชายสุดที่ม้วนไว้ขึ้นเหน็บไว้ที่กลางหลัง เรียกผ้าที่ม้วนไปเหน็บไว้ อย่างนี้ว่า ชาย กระเบน หรือหางกระเบน.
  46. กญฺญชปฺปน : นป. การกระซิบ
  47. กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
  48. กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
  49. กต : ๑. นป. สิ่งที่ทำแล้ว, การกระทำ; ๒. กิต. ทำแล้ว, ประกอบแล้ว, สร้างแล้ว, จัดแจงแล้ว
  50. กตสกฺการสมฺมาน : (วิ.) ผู้มีสักการะและ สัมมานอันบุคคลทำแล้ว.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | [351-400] | 401-450 | 451-500 | 501-550 | 551-600 | 601-634

(0.0588 sec)