Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รา, 634 found, display 451-500
  1. ชิวฺหาสมฺผสฺส : ป. การกระทบด้วยลิ้น, ความสัมผัสทางลิ้น
  2. เชฏฺฐาปจายิกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของบุคคลผู้ยำเกรงแก่บุคคลผู้เจริญที่สุด, การทำของบุคคลผู้ประพฤติอ่อนน้อมแด่ผู้ ใหญ่.
  3. ตชฺชนียกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสงฆ์พึงทำแก่ ภิกษุผู้อันสงฆ์จะต้องคุกคาม, ตัชนียกรรม เป็นชื่อการลงโทษอย่างหนึ่งตามพระวินัย ซึ่งสงฆ์ทำแก่ภิกษุผู้มีความผิด ๓ ประการ คือ เป็นผู้ประพฤติไม่เหมาะสม คือ ๑ . ๑ มักทำการบาดหมาง ทะเลาะ – วิวาท ฯลฯ ๑ . ๒ เป็นพาลมีอาบัติมาก มีมรรยาท ไม่สมควร ๑ . ๓ คลุกคลีกับคฤหัสถ์อันไม่ สมควร เป็นผู้มีศีลวิบัติ อาจารวิบัติ และ ทิฏฐิวิบัติ และ ๓. กล่าวติเตียน พระพุทธ พระธรรม หรือพระสงฆ์ แม้อย่างใดอย่างหนึ่ง ก็ ลงตัชนิยกรรมได้ สงฆ์ทำด้วยวิธีญัติติจตุตถกรรมวาจา ไตร. ๖/๓
  4. ตถตฺตา : (อัพ. นิบาต) เพียงนั้นนั่นเทียว, เหมือนกัน, ฉันนั้น. ตถา+อิว รฺ อาคม.
  5. ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
  6. ตามร : (นปุ.) น้ำ, ทองแดง, ตามร. ส. ตามฺร.
  7. ติตฺถ : (นปุ.) ท่า, ท่าน้ำ, ท่าเป็นที่ข้าม, ท่า ข้าม, ทิฏฐิ คือความเห็นนอกพุทธศาสนา, ลัทธิ ( นอกพุทธศาสนา), อุบาย ( เหตุ ), น้ำศักดิ์สิทธิ์. ตรฺ ปฺลวนตรเณสุ, โถ, อสฺส อิตฺตํ, ทฺวิตฺตํ ( แปลง ถ เป็น ตฺถ), รโลโป. หรือแปลง รฺ เป็น ตฺ ก็ไม่ต้องแปลง ถ เป็น ตฺถ. ส. ตีรถ.
  8. ติมฺพรุ ติมฺพรู ติมฺพรุสก ติมฺพรูสก : (ปุ.) มะพลับ. ติมุ อทฺทภาเว. สองศัพท์แรก อู ปัจ. ศัพท์ต้นรัสสะ สองสัพท์หลัง อูส ปัจ. ก สลัด ศัพท์ที่ ๓ รัสสะ ลง รฺ อาคม ท้ายธาตุ แปลง มฺ เป็น พ นิคคหิตอาคม ต้นเหตุ แปลงเป็น มฺ อภิฯ น. ๔๘๗.
  9. ตุณฺณ : (วิ.) พลัน, เร็ว, ด่วน. ตุรฺ สีฆคติยํ, ยุ. แปลง รฺ เป็น ณฺ ยุ เป็น อณ.
  10. ตุรงฺคาริ : (ปุ.) สัตว์ผู้ไม่ไปเร็ว, ควาย, กระบือ. ตุร+น+คมฺ ธาตุ อิ หรือ ณิ ปัจ. แปลง น เป็น ง มฺ เป็น รฺ ทีฆะต้นธาตุ.
  11. ทนฺตาวรณ : (นปุ.) ที่เป็นที่กั้นซึ่งฟัน, ริม ฝีปาก. วิ. ทนฺเต อาวรตีติ ทนฺตาวรณํ. ทนฺตปุพฺโพ, วรฺ สํวรเณ, ยุ.
  12. ทฺรว : (วิ.) เหลว, ไหลไป, เป็นน้ำ. ทุ คติยํ, โณ. แปลง อุ เป็น อว รฺ อาคม.
  13. ทฬฺหึกมฺม, - กรณ : นป. การกระทำให้มั่น, การทำให้มั่นคงแข็งแรง
  14. ทิพฺพญาณ : (นปุ.) ตาทิพ, ตาทิพย์, ทิพย-เนตร. ส. ทิวฺยเนตฺร.
  15. ทุกฺกฏ : นป. การกระทำผิด, ความชั่ว, ชื่ออาบัติเบาชนิดหนึ่งซึ่งเรียกว่าอาบัติทุกกฎ
  16. ทุกฺกรกริยา : (อิต.) การกระทำอันบุคคลทำ ได้โดยยาก, การทำกิจที่บุคคลทำได้โดย ยาก, การทำกิจที่ทำได้โดยยาก, การทำ ความเพียรที่ทำได้โดยยาก, ทุกกรกิริยา คือการทรมานร่างกายให้ลำบากโดย ประการต่างๆ.
  17. ทุพฺพา : (อิต.) หญ้าแพรก วิ. อวมงฺคลํ ทุพฺพตีติ ทุพฺพา. ทุพฺพ หึสายํ, อ. ทุนฺนิมิตฺตาทโย วาเรนฺติ เอตายาติ วา ทุพฺพา. ทุนฺนิมิต-ตาทิปุพฺโพ, วรฺ อาวรเณ, อ. ลบบทหหน้าเหลือ ทุ และ ลบ รฺ แปลง ว เป็น พ ซ้อน พฺ อา อิต. ส. ทูพ, ทุรฺพพา.
  18. ทุรนฺวย : (วิ.) อัน...ไปตามได้ยาก, อัน...ไป ตามได้โดยยาก. ทุ อนุ. บทหน้า อิ ธาตุ อ หรือ ข ปัจ. พฤทธิ อุ ที่ อนุ เป็น ว แปลง อิ เป็น ย ลง รฺ อาคมหลัง ทุ คำแปลหลัง ทุกฺข อนุ เป็นบทหน้า ลบ กฺข.
  19. ทุรนุโพธ : (วิ.) อัน...รู้ตามได้โดยยาก, อัน...บรรลุตามได้โดยยาก, ฯลฯ. วิ. ทุกฺเขน อนุพุชฺฌิตพฺโพติ ทุรนุโพโธ. ทุกฺข +อนุ+พุธฺ+ ข ปัจ. รฺ อาคม รูปฯ ๕๘๙.
  20. ทุรปฺปพฺพชฺช : (นปุ.) การบวชเป็นของยาก, บวชเป็นของยาก. ทุเป บทหน้า วชฺธาตุ ณฺย ปัจ. ลง รฺ และ อ อาคมหลัง ทุ ซ้อน ปุ.
  21. ทูหร : (วิ.) อัน...นำไปได้โดยยาก, อัน...ลักไป ได้โดยยาก, นำไปยาก ลักไปยาก (ยาก ที่จะนำไป ยากที่จะลักไป) . ทุกฺข+หรฺ+ข ปัจ. ศัพท์ที่มี ทุ นิ อยู่หน้า ถ้าไม่ลง รฺ อาคม มักทีฑะเป็น ทู นี.
  22. เทยฺยธมฺม : (ปุ.) ของอัน...พึงให้, สักการะมี ความเป็นของอันบุคคลพึงให้, ของควรให้, ไทยะรรมของสำหรับทำบุญของถวายพระ (เครื่องสักการะ).
  23. ธมกรก : (ปุ.) คนที (หม้อน้ำ หม้อมีหู เต้า น้ำ, ธัมกรก, ธมกรก (ธะมะกะหรก) ชื่อบริขารของ ๑ ใน ๘ อย่าง ของภิกษุ เป็นกระบอกก้นกลวง ผูกผ้าไว้ข้างบนปิดสนิท เจาะรูตรงกลางใส่หลอดยาวประมาณ ๔ นิ้ว มีหูสองข้างหลอด สำหรับใช้กรอง น้ำ เป็น ธมการก ก็มี.
  24. ธมฺมกมฺม : นป. การกระทำตามธรรม, การปฏิบัติตามกฏ
  25. ธมฺมปฏิรูป : (ปุ.) ธรรมเทียม ธรรมไม่แท้ ซึ่งแฝงเข้ามาปนกับธรรมแท้ เป็นผลของการกระทำของผู้ไม่หวังดีแก่พระ ศาสนา หรือของคนผู้หวังแต่ประโยชน์ ของตนหรือพรรคพวกของตน.
  26. ธมฺมานุลฺสติ : (อิต.) ธรรมชาติเป็นเครื่อง ระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกตามซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ความระลึกเนืองๆ ซึ่งคุณแห่งพระธรรม, ธมฺมคุณ+อนุสฺสติ.
  27. ธีตุ : (อิต.) ลูกหญิง, ลูกสาว, ธิดา. วิ. มาตา ปิตูหิ ธรียเตติ ธีตา ธรฺ ธารเณ, ริตุ, อิ การสฺส ทีโฆ, ลบ ที่สุด ธาตุ และลบ รฺ ตัว ปัจ.
  28. นขร : (ปุ.) เล็บมือ, นขระ ชื่อผักหอมชนิด หนึ่ง.
  29. นมกฺการ : นป. การกระทำความนอบน้อม, การไหว้
  30. นาถกรณ : นป. การกระทำที่พึ่ง
  31. นาเทว นรนาถ นรนายก นรป นรปติ นรปาล นรราช นราธิป นรินท : (ปุ.) พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน. ส. นเรนทร, นฤป, นฤปติ.
  32. นิติกมฺม : (นปุ.) การกระทำตามกฎหมาย, นิติกรรม.
  33. นิพฺพานสจฺฉิกิริยา : อิต. การกระทำให้แจ้งซึ่งพระนิพพาน
  34. นิมฺมานรตี : (อิต.) นิมมานรตี ชื่อสวรรค์ชั้น ที่ ๕, เทวดาผู้ยินดีในการเนรมิต วิ. นิมฺมาเน รติ เอเตสนฺติ นิมฺมานรตี.
  35. นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
  36. นิมิส : ป. การกระพริบตา, การหลับตา
  37. นิมิสติ : ก. การกระพริบตา, หลับตา, ปิดตา
  38. นิมิส นิมฺมิส นิมฺมิสน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, นิสฺ นิมฺมิสเน, อ.
  39. นิรพฺพุท : (นปุ.) นิรัพพุทะ ชื่อมาตรานับ คือ เลข ๑ มีสูญตามหลัง ๖๓ สูญ. นิปุพฺโพ, อพฺพฺ หึสาคตีสุ, โท. รฺ อาคม และ อ อาคมท้ายธาตุ แปลง อ เป็น อุ.
  40. นิรากติ : (อิต.) การกล่าวคืน, การไม่ยอมรับ. นิ+อา+กรฺธาตุ ติ ปัจ. รฺ อาคม ลบที่สุด ธาตุ.
  41. นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
  42. นิรามิส : (วิ.) มีเหยื่อออกแล้ว, มีเหยื่อล่อออก แล้ว, มีเครื่องล่อออกแล้ว, มีวัตถุเครื่อง ล่อใจออกแล้ว, ไม่มีเหยื่อ, ฯลฯ, ปราศจาก เหยื่อ, ฯลฯ, หมดเหยื่อ, ฯลฯ, ไร้เหยื่อ, ฯลฯ. นิ+อามิส รฺ อาคม.
  43. นิรินฺธน : (วิ.) มีเชื้อออกแล้ว, ไม่มีเชื้อ, หมด เชื้อ, สิ้นเชื้อ, ไร้เชื้อ, ปราศจากเชื้อ. นิ+อินฺธน รฺ อาคม.
  44. นิริย : (ปุ.) ประเทศมีความเจริญออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อย รฺ และ อิ อาคม ดู นิรย ประกอบ.
  45. นิรีหก : (วิ.) มีความเพียรออกแล้ว, ฯลฯ. นิ+อีหา รฺ อาคม ก สกัด.
  46. นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
  47. นิวากต : (นปุ.) มหรสพ (การกระทำคือแสดง ของคณะ). นิวห+กต แปลง ห เป็น อา.
  48. นิหีนกมฺม : นป. กรรมทราม, การกระทำที่ต่ำทรา
  49. ปกฺขนฺทน : นป. การแล่นไป, การกระโดดไป
  50. ปฏิจฺฉนฺนกมฺมนฺต : ค. ผู้มีการงานอันปิดบัง, ผู้มีการกระทำอันไม่เปิดเผย, ผู้ทำงานเร้นลับ, ผู้ปกปิดการกระทำ
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | [451-500] | 501-550 | 551-600 | 601-634

(0.0567 sec)