Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: รา , then , ระ, รา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : รา, 634 found, display 501-550
  1. ปฏิสฺสต : ค. มีสติมั่น, ผู้รอบคอบ, ผู้ระแวดระวัง
  2. ปฏิหนน : นป. การกระทบ, การผลักไส, การกำจัด, การทำลาย
  3. ปตฺตวก : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด.
  4. ปถวี : (อิต.) ดิน, แผ่นดิน. ปุถฺ วิตฺถาเร, กฺวิ, ออาคโม. แปลง ปุถฺ เป็น ปุถุ แปลง อุ เป็น อว อุ ที่ ปุ เป็น อ อี อิต. อถวา,ปถวติ เอตฺถา ติ ปถวี. ปปุพฺโพ, ถวฺ คติยํ. สพฺพตฺถ ปตฺถ รตีติ วา ปถวี. ปปุพฺโพ, ถรฺ สนฺถรเณ, รสฺส โว. รูปฯ ๖๖๐ แปลง ปุถ เป็น ปุถุ, ปถ. ที่เป็น ปฐวี เพราะแปลง ถ เป็น ฐ.
  5. ปทวิคฺคห : ป. การวิเคราะห์บท, การแยกคำออกอธิบาย, การกระจายบทสมาสออกให้เห็นส่วนประกอบ, บทวิเคราะห์
  6. ปทวิภาค : ป. การแจกบท, การกระจายคำ
  7. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  8. ปโพธน : นป. การปลุก, การกระตุ้นเตือน, การตรัสรู้
  9. ปโยคกรณ : นป. การกระทำความเพียร, การกระทำความมุ่งมั่นบากบั่น, การประกอบกิจ
  10. ปรการ : ป. การกระทำของผู้อื่น, การสร้างสรรค์โดยผู้อื่น
  11. ปรทาริกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของคนผู้ถึงซึ่ง ภรรยาของคนอื่น วิ. ปรทาริโก จ โส ปุคฺคโล จาติ ปรทาริกปุคฺคโล. ปรทาริก ปุคฺคลสฺส กมฺมํ ปรทาริกกมฺมํ.
  12. ปรมตฺถธมฺม : (ปุ.) ธรรมมีเนื้อความอย่างยิ่ง, ธรรมมีเนื้อความอันประเสริฐ, ธรรมมี เนื้อความอันลึกซึ้ง, ธรรมมีอรรถอย่างยิ่ง, ฯลฯ, ปรมัตถธัม คือ จิต ๘๙ ดวง หรือ๑๒๑ ดวง เจตสิก ๕๒ ดวง รูป ๒๘ พระนิพพาน ๑. เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า พระอภิธรรม ได้แก่ หระอภิธัมมปิฎก.
  13. รามสน : (นปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  14. รามาส : (ปุ.) การจับต้อง, การลูบคลำ, การยึดมั่น, การยึดถือ, การถือมั่น ( หนักไปในทางเชื่อความขลัง เชื่อ บันดาลไม่เชื่อกรรม ), ความจับต้อง, ฯลฯ. ป อาปุพฺโพ, มสฺ อามสเน, ยุ, รฺ อาคโม.
  15. ปริกนฺต : ๑. กิต. (อันเขา) เฉือนแล้ว, ผ่าออกแล้ว; ๒. นป. กรรมที่กระทำด้วยกาย; การกระเสือกกระสนด้วยกาย
  16. ปริทหน : (นปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  17. ปริทาห : (ปุ.) การไหม้, การเจ็บ, การเจ็บปวด, การกระหาย, การกระวน- กระวาย, ความร้อน, ความเร่าร้อน, ความเจ็บ,ฯลฯ. ปริปุพฺโพ, ทหฺ ภสฺมีกรเณ, ยุ, โณ.
  18. ปฺลวน : นป. การกระโดด, การลอย
  19. ปาตุกรณ : นป. การกระทำให้ปรากฏ, การทำให้เกิดขึ้น
  20. ปาทจลน, - จาร : นป. การไหวเท้า, การกระดิกเท้า, การสั่นเท้า, การย่างเท้า
  21. ปาปกมฺม : นป. กรรมชั่ว, การกระทำที่ชั่วช้า
  22. ปาปกมฺมนฺต, ปาปกมฺมี, ปาปกร, ปาปการี : ค. มีกรรมชั่ว, มีการกระทำอันเลวทรา
  23. ปารมฺปริย : นป. คำสอนหรือการกระทำที่สืบต่อกันมาตามลำดับๆ
  24. ปาวุส : ป. ฝน, ฤดูฝน; ปลากระบอก
  25. ปุญฺญกมฺม : นป. การทำบุญ, การกระทำอันเป็นไปเพื่อความดี
  26. ปุญฺญาภิสงฺขาร : ป. การสั่งสมบุญ, การกระทำบุญ
  27. ปุพฺพกรณ : (นปุ.) การกระทำก่อน, บุพพกรณ์ บุพกรณ์ คือ กิจที่จะต้องทำก่อนบุพกิจ.
  28. ปุพฺเพกตปุญฺญตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันตนกระทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีบุญอันได้กระทำไว้แล้วในกาลก่อน,ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในกาลก่อน, ความเป็นผู้มีบุญอันทำแล้วในชาติก่อน.
  29. ปุริสฆาตกกมฺม : (นปุ.) การกระ ทำของบุรุษ ผู้ฆ่าซึ่งบุรุษ.
  30. ปูติก : (ปุ.) กระพังโหม, อเนกคุณ, บอระเพ็ด? ปุ ปวเน, อิโก, โตนฺโต จ (ลง ต ที่สุดธาตุ).
  31. ปูติลตา : (อิต.) เถาเน่า, เครือเถาเน่า, เถาหัวด้วน, ต้นตำแย, บอระเพ็ด, กระพังโหม. วิ. ติตฺตรสตฺตา ปูติภูตา ลตา ปูติลตา. ปุ ปวเน, ติ.
  32. เปตฺติก เปตฺติย : (วิ.) เกิดพร้อมแล้วจากบิดา, เกิดจากบิดา เกิดแต่บิดา วิ. ปิติโต สมฺภูตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. มาข้างบิดา วิ. ปิติโต อาคตํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. อันเป็นของมีอยู่แห่งบิดา วิ. ปิตุโน สนฺตกํ เปตฺติกํ เปตุติยํ วา. อันเป็นของแห่งบิดา เป็นของแห่งบิดา วิ. ปิตุโน วตฺถุกํ เปตฺติกํ เปตฺติยํ วา. ณิกปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. ศัพท์หลังแปลง ก เป็น ย ส่วนโมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๑ ลง ริยณฺ ปัจ. ลบ รฺ และ ณฺ.
  33. ผคฺคว : (ปุ.) ขี้เหล็ก, บอระเพ็ด. วิ. ยํ วาตํ คณฺหาตีติ ผคฺคโว. ผปุพฺโพ, คหฺ คหเน, อ, หสสฺ โว.
  34. ผรณตา : อิต. การแผ่ไป, การซ่านไป, การกระจายไป, การเสียวซ่าน
  35. ผสฺส : (ปุ.) อันกระทบ, อันถูกต้อง, การกระทบ, การถูกต้อง, ความกระทบ, ความถูกต้อง. วิ. ผุสนํ ผสฺโส. ผัสสะ อารมณ์ วิ. ผุสิยเตติ ผสฺโส ผุสิตพฺโตติ วา ผสฺโส. ผุสฺ สมฺผสฺเส, อ, ผสสฺส ผสฺโส (แปลง ผุส เป็น ผสฺส). อภิฯ. รูปฯ ๕๖๑ ลง ณ ปัจ. สัมปยุตตธรรม ประกอบด้วยสิ่งนั้น ชื่อผัสสะแต่ละอย่าง เช่น ตากระทบรูป เป็นต้น.
  36. ผุณ ผุณน : (นปุ.) การกระจาย, การเรี่ยราย, การกำจัด, การขจัด. ผุณฺ วิกรณวิธุนเนสุ, อ, ยุ.
  37. โผฏฺฐพฺพ : (นปุ.) อารมณ์อันบุคคลพึงถูกต้อง, อารมณ์ที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้อง, สิ่งที่มาถูกต้องกาย, สิ่งที่ถูกต้องได้ด้วยกาย. สิ่งที่เย็น ร้อน อ่อน แข็ง ละเอียด หยาบ ซึ่งมากระทบกายกระทบผิวกาย เรียกว่า โผฏฐัพพะทั้งสิ้น. ผุสฺ สมฺผสฺเส, ตพฺโพ, สสฺส โฏ, ตสฺส โฐ.
  38. พฺยติเรก : (วิ.) แปลกออกไป. วิ+อติ+เอก รฺ อาคม.
  39. พฺรหฺมกุตฺต : นป. การงานของพรหม, การกระทำแห่งพรหม
  40. พลกฺการ : (ปุ.) การกระทำซึ่งกำลัง, การกระทำด้วยกำลัง, การข่มเหง, ความข่มเหง, พลการ (ใช้อำนาจบังคับตามอำเภอใจ).
  41. พหิกรณ : นป. การกระทำไว้ในภายนอก
  42. พหุการ : ค. มีการกระทำมาก, มีธุระมาก; มีอุปการะมาก
  43. พหุการตฺต : นป. ความมีการกระทำมาก; ความเป็นผู้มีอุปการะมาก
  44. พหุลีกรณ, พหุลีกมฺม : นป. การกระทำมาก, การกระทำอันเป็นไปติดต่อ
  45. พาธ : ป. การเบียด, การเสียดสี, การกระทบ, การยัดเยียด, การคับแคบ
  46. พาธิ : (ปุ.) การเบียดเบียน, ความเบียดเบียน, การกระทบ, การฆ่า, การทำลาย. หนฺ หึสายํ, ณิ แปลง หนฺ เป็น วธ ทีฆะ อ ที่ ว เป็น อา.
  47. พินฺทุกปฺป : (ปุ.) การทำพินทุ คือ การเขียนจุด ทำจุดที่มุมผ้าเหนืออนุวาตด้วยสีเขียวคราม หรือสีโคลน หรือสีดำคลำ เพื่อทำให้เสียสีตามพระวินัยบัญญัติ.
  48. พีช : (นปุ.) เหตุ, มูลเหตุ, มูลเค้า, เมล็ด, ฟอง (ฟองไข่), นิมิตบุรุษ, นิมิตสตรี, องคชาต, น้ำสุกกะ, พันธุ์ไม้, ต้นไม้, พืช (สิ่งที่จะเป็นพันธุ์ต่อไป). วิเสสปุพฺโพ, ชนฺ ปาตุภาเว, โร. ลบ เสส แปลง วิ เป็น พิ ทีฆะ ลบ ที่สุดธาตุ และ รปัจจัย อภิฯ ลง กฺวิ ปัจ.
  49. ภจฺจ : (ปุ.) สัตว์อันบุคคลพึงเลี้ยง, บ่าว, ไพร่, บ่าวไพร่, ข้าใช้, คนรับใช้, คนใช้, อำมาตย์. วิ. ภรียตีติ ภจฺโจ. ภรฺ ธารณโปสเนสุ, ริจฺจปจฺจโย. ลบ รฺ, รฺ และ อิ. ภริตพฺโพติ วา ภจฺโจ. รูปฯ ๕๔๒. โมคฯ ลง ย ปัจ. แปลงเป็น จฺจ ลบ รฺ อีกอย่างหนึ่งว่ามาจาก ภต ศัพท์ แปลง ต เป็น จ ซ้อน จฺ ว่านน้ำ ก็แปล.
  50. ภตฺตุ : (ปุ.) ผัว, ภัสดา, ภัศดา, ภรรดา. ภรฺโปสเน, ริตุ, แปลง รฺ เป็น ตฺ ลบ ริ หรือ แปลง ตุ เป็น ตฺตุ ลบ รฺ และ ลบ ริ. อภิฯ. รูปฯ ๕๕๙ ลง ตุ. ปัจ. แปลง รฺ เป็น ตฺ. ส. ภฺรตถุ.
  51. 1-50 | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-500 | [501-550] | 551-600 | 601-634

(0.0437 sec)